วิธีการอ่านตัวเลขเปอร์เซ็นต์
การอ่านตัวเลขที่อยู่ด้านหน้าเครื่องหมาย % จะใช้วิธีการอ่านแบบจำนวนนับ คือ มีหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย เป็นต้น เช่น
40% = forty percent.
62% = sixty two percent.
119% = one hundred and nineteen percent.
วิธีการอ่านตัวเลขอัตราส่วน
การอ่านตัวเลขอัตราส่วนในภาษาอังกฤษ จะใช้คำว่า to แทนเครื่องหมาย : เช่น
2:0 = two to zero
5:3 = five to three
19:10 = nineteen to ten
วิธีการอ่านตัวเลขในการคำนวณพื้นที่
ในภาษาอังกฤษเมื่อต้องการจะอ่านตัวเลขที่ไว้ใช้คำนวณพื้นที่ (กว้างXยาว) จะใช้วิธีการอ่านตัวเลขแบบจำนวนนับ ตามด้วยหน่วยนับ และคำว่า by ตามด้วยตัวเลขและหน่วยนับปิดท้าย เช่น
5 cm. X 4 cm. = five centimeters by four centimeters
22” X 2” = twenty-two inches by two inches.
วิธีการอ่านตัวเลขแบบมีจุดทศนิยม
การอ่านตัวเลขแบบมีจุดทศนิยมในภาษาอังกฤษมีรูปแบบการอ่านเช่นเดียวกันกับในภาษาไทย คือ ตัวเลขด้านหน้าจุดให้อ่านแบบจำนวนนับ ส่วนจุดอ่านว่า point และตัวเลขหลังจุดให้อ่านเรียงทีละตัว โดยถ้าเจอเลข 0 ให้อ่านว่า zero หรือ oh ก็ได้ เช่น
0.39 = zero point three nine
3.02 = three point zero two
59.77 = fifty-nine point seven seven
203.405 = two hundred and three point four oh five
*** เลข 0 คนอังกฤษนิยมอ่านว่า Oh (โอ) ส่วนคนอเมริกันนิยมอ่านว่า Zero
วิธีการอ่านตัวเลขแบบเศษส่วน
1. การอ่านตัวเลขเศษส่วนที่มีคำเฉพาะ เช่น
1/2 = a half
1/4 = a quarter หรือ a fourth
2. การอ่านตัวเลขเศษส่วนโดยทั่วไป ให้อ่าน ‘เศษ’ แบบตัวเลขจำนวนนับ โดยถ้าเป็น 1 ให้อ่านว่า one หรือ a/an ก็ได้ และให้อ่าน ‘ส่วน’ แบบตัวเลขลำดับที่ เช่น
1/3 = a third หรือ one-third
1/8 = an eighth หรือ one-eighth
3. การอ่านตัวเลขเศษส่วนในกรณีที่ ‘เศษ’ มีจำนวนมากกว่า 1 ให้เติม s ที่ ‘ส่วน’ ด้วย เช่น
3/4 = three-quarters หรือ three-fourths
4/17 = four-seventeenths
4. การอ่านตัวเลขเศษส่วนที่มีจำนวนเต็มข้างหน้า ให้เชื่อมด้วย and เช่น
2 เศษ 2 ส่วน 3 = two and two-thirds
10 เศษ 1 ส่วน 10 = ten and one-ten
วิธีการอ่านเลขยกกำลัง
การอ่านเลขยกกำลังในภาษาอังกฤษ มีคำเฉพาะอยู่เพียง 2 คำ คือ squared แปลว่ายกกำลังสอง และ cubed แปลว่ายกกำลังสาม ส่วนถ้าเป็นเลขยกกำลังอื่น ๆ ให้อ่านเลขยกกำลังเป็นแบบเลขลำดับที่ เช่น
32 = three squared
43 = four cubed
24 = two to the forth power
155 = fifteen to the fifth power
วิธีการอ่านตัวเลขปี ค.ศ.
1. การอ่านตัวเลขปี ค.ศ. ที่ต่ำกว่าหนึ่งพัน อ่านแบบเลขจำนวนนับ เช่น
ปี 982 = nine hundred and eighty-two
2. การอ่านตัวเลขปี ค.ศ. แบบหลักพันที่ไม่มีเลข 0 จะแบ่งตัวเลขเป็นคู่หน้าและคู่หลัง แล้วอ่านตัวเลขแบบจำนวนนับปกติ เช่น
ปี 1594 = fifteen-ninety-four
3. การอ่านตัวเลขปี ค.ศ. แบบหลักพันที่มีเลข 0 มีวิธีการอ่าน 3 แบบคือ แบบแรกปีที่เลขคู่ที่สองเป็นเลขต่ำกว่าหลักสิบ จะอ่านเลข 0 ว่า oh (โอ) เช่น
ปี 1509 = fifteen oh nine
แบบที่สอง การอ่านตัวเลขปี ค.ศ. ที่เลขคู่ที่สองเป็น 00 จะอ่านว่า hundred เช่น
ปี 1900 = nineteen hundred
แบบที่สาม ถ้าหลังจากปี 2000 ถึงปี 2009 จะอ่านว่า two thousand and … เช่น
ปี 2001 = two thousand and one
และตั้งแต่ปี 2010 เป็นต้นไปสามารถอ่านได้สองแบบคือ two thousand and … หรืออ่านเป็นคู่แบบข้อที่ 2 เช่น
ปี 2011 = two thousand and eleven หรือ twenty-eleven
ปี 2020 = two thousand and twenty หรือ twenty-twenty
ตัวเลข | การบอกจำนวน | การบอกลำดับ |
---|---|---|
1 | one | first |
2 | two | second |
3 | three | third |
4 | four | fourth |
5 | five | fifth |
6 | six | sixth |
7 | seven | seventh |
8 | eight | eighth |
9 | nine | ninth |
10 | ten | tenth |
11 | eleven | eleventh |
12 | twelve | twelfth |
13 | thirteen | thirteenth |
14 | fourteen | fourteenth |
15 | fifteen | fifteenth |
16 | sixteen | sixteenth |
17 | seventeen | seventeenth |
18 | eighteen | eighteenth |
19 | nineteen | nineteenth |
20 | twenty | twentieth |
21 | twenty-one | twenty-first |
22 | twenty-two | twenty-second |
23 | twenty-three | twenty-third |
24 | twenty-four | twenty-fourth |
25 | twenty-five | twenty-fifth |
26 | twenty-six | twenty-sixth |
27 | twenty-seven | twenty-seventh |
28 | twenty-eight | twenty-eighth |
29 | twenty-nine | twenty-ninth |
30 | thirty | thirtieth |
31 | thirty-one | thirty-first |
40 | forty | fortieth |
50 | fifty | fiftieth |
60 | sixty | sixtieth |
70 | seventy | seventieth |
80 | eighty | eightieth |
90 | ninety | ninetieth |
100 | one hundred | hundredth |
500 | five hundred | five hundredth |
1,000 | one thousand | thousandth |
1,500 | one thousand five hundred, or fifteen hundred | one thousand five hundredth |
100,000 | one hundred thousand | hundred thousandth |
1,000,000 | one million | millionth |
ตัวอย่างเช่น
- There are twenty-five people in the room.
- He was the fourteenth person to win the award.
- Six hundred thousand people were left homeless after the earthquake.
- I must have asked you twenty times to be quiet.
- He went to Israel for the third time this year.
การอ่านเลขทศนิยม
การอ่านเลขทศนิยมในภาษาอังกฤษนั้นต้องใช้คำว่า จุด คือ "point" ตามด้วยตัวเลขเรียงกันไปเรื่อย ๆ จนจบ แต่การอ่านนี้ไม่สามารถใช้กับเงินได้เขียน | พูด |
---|---|
0.5 | point five |
0.25 | point two five |
0.73 | point seven three |
0.05 | point zero five |
0.6529 | point six five two nine |
2.95 | two point nine five |
การอ่านเศษส่วน
ในการอ่านเศษส่วนนั้นจะใช้ตัวเลขเพื่อบอกจำนวนเป็นเศษ และตัวเลขที่บอกลำดับเป็นส่วน หากจำนวนส่วนมากกว่า 1 ให้ทำเป็นรูปพหูพจน์ ยกเว้นในกรณีที่ เศษ คือ 1 และส่วนคือ 2 ในกรณีนี้ให้อ่านว่า "half" และอ่านว่า "halves" ในกรณีที่เศษมากกว่า 1เขียน | พูด |
---|---|
1/3 | one third |
3/4 | three fourths |
5/6 | five sixths |
1/2 | one half |
3/2 | three halves |
การอ่านเปอร์เซ็นต์
การอ่านเปอร์เซ็นต์ในภาษาอังกฤษนั้นไม่ยากเลย เพียงแค่อ่านตัวเลขตามปกติแล้วตามด้วยคำว่า "เปอร์เซ็นต์" เท่านั้นเขียน | พูด |
---|---|
5% | five percent |
25% | twenty-five percent |
36.25% | thirty-six point two five percent |
100% | one hundred percent |
400% | four hundred percent |
การอ่านจำนวนเงิน
การอ่านจำนวนเงิน สิ่งแรกให้อ่านจำนวนทั้งหมดตามปกติ แล้วตามด้วยสกุลเงิน หากมีจุดทศนิยม ให้อ่านตัวเลขหน้าจุดทศนิยมก่อน ตามด้วยสกุลเงิน เชื่อมด้วย "and" และตัวเลขหลังจุดทศนิยมให้อ่านตามหลักการอ่านตัวเลขปกติ ตามด้วยหน่วยย่อยของสกุลเงินนั้น ๆ ซึ่งเป็นหลักการที่แตกต่างจากการอ่านจุดทศนิยมโดยทั่วไป เพราะนี่คือหลักการอ่านจุดทศนิยมกับสกุลเงินเท่านั้นอ่าน | พูด |
---|---|
25$ | twenty-five dollars |
52€ | fifty-two euros |
140₤ | one hundred and forty pounds |
$43.25 | forty-three dollars and twenty-five cents (สามารถพูดแบบสั้น ๆ ว่า "forty-three twenty-five" ใช้ในชีวิตประจำวัน) |
€12.66 | twelve euros sixty-six |
₤10.50 | ten pounds fifty |
การอ่านหน่วยการวัดต่าง ๆ
เพียงแค่อ่านตัวเลขตามปกติ ตามด้วยหน่วยที่ใช้วัด ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว ในการเขียนหน่วยมักจะใช้ตัวย่อเขียน | พูด |
---|---|
60m | sixty meters |
25km/h | twenty-five kilometers per hour |
11ft | eleven feet |
2L | two liters |
3tbsp | three tablespoons |
1tsp | one teaspoon |
การอ่านปี
การอ่านปีในภาษาอังกฤษเป็นเรื่องที่ค่อนข้างซับซ้อน โดยทั่วไปแล้ว เมื่อปีเป็นตัวเลข 4 หลัก ให้แบ่งตัวเลข 4 หลักนั้นออกเป็น 2 หลักแล้วแยกอ่านตามปกติ มีข้อยกเว้นบางประการสำหรับกฎนี้ ปีที่อยู่ในช่วง 100 ปีแรกของสหัสวรรษใหม่ สามารถอ่านได้ 2 แบบ คือ อ่านเหมือนการอ่านตัวเลข 4 หลักทั่วไป หรือแบ่งออกเป็น 2 หลักแล้วแยกอ่านตามปกติก็ได้ ปีที่ครบรอบสหัสวรรษใหม่ให้อ่านแบบการอ่านตัวเลขปกติเท่านั้น เพราะจะง่ายกว่าการอ่านแบบแบ่งออกเป็น 2 หลัก ส่วนการขึ้นศตวรรษใหม่ให้อ่านเป็นจำนวนร้อยเต็ม เราไม่ใช้คำว่า “พัน” อย่างน้อยที่สุดก็ไม่ใช่สำหรับการอ่านปีภายใน 1,000 ปีที่ผ่านมาสำหรับปีที่มีตัวเลขเพียง 3 หลัก สามารถอ่านได้ 2 แบบ คือ อ่านแบบการอ่านตัวเลข 3 หลัก หรือแบ่งเป็น 1 หลักและ 2 หลักตามลำดับแล้วอ่านตามปกติก็ได้ คุณสามารถใช้คำว่า “ปี” นำหน้าปีที่คุณจะอ่านก็ได้เพื่อให้ความหมายชัดเจนมากยิ่งขึ้น และมักจะพบได้ทั่วไปในการอ่านปีที่มีตัวเลข 2 หรือ 3 หลัก ปีก่อนปี 0 จะตามด้วย BC (โดยอ่านว่า บีซี)
กฏเหล่านี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการอ่านหมายเลขของถนนได้อีกด้วย
เขียน | พูด |
---|---|
2014 | twenty fourteen or two thousand fourteen |
2008 | two thousand eight |
2000 | two thousand |
1944 | nineteen forty-four |
1908 | nineteen o eight |
1900 | nineteen hundred |
1600 | sixteen hundred |
1256 | twelve fifty-six |
1006 | ten o six |
866 | eight hundred sixty-six or eight sixty-six |
25 | twenty-five |
3000 BC | three thousand BC |
3250 BC | thirty two fifty BC |
การอ่าน 0
ในปัจจุบันมีวิธีการอ่านเลข 0 หลายวิธีซึ่งแตกต่างกันไปตามแต่ละบริบท เป็นที่น่าเสียดายที่การอ่าน 0 มีความแตกต่างและหลากหลายมากในหมู่ประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก ดังนั้น หลักการอ่าน 0 ที่คุณกำลังจะได้เรียนรู้ คือ การอ่าน 0 แบบอเมริกันการออกเสียง | การใช้ |
---|---|
zero | Used to read the number by itself, in reading decimals, percentages, and phone numbers, and in some fixed expressions. |
o (the letter name) | Used to read years, addresses, times and temperatures |
nil | Used to report sports scores |
nought | Not used in the USA |
ตัวอย่างเช่น
เขียน | พูด |
---|---|
3.04+2.02=5.06 | Three point zero four plus two point zero two makes five point zero six. |
There is a 0% chance of rain. | There is a zero percent chance of rain. |
The temperature is -20⁰C. | The temperature is twenty degrees below zero. |
You can reach me at 0171 390 1062. | You can reach me at zero one seven one, three nine zero, one zero six two |
I live at 4604 Smith Street. | I live at forty-six o four Smith Street |
He became king in 1409. | He became king in fourteen o nine. |
I waited until 4:05. | I waited until four o five. |
The score was 4-0. | The score was four nil. |
CR :: https://www.ef.co.th/
35.678 อ่านว่า thirty-five point six seven eight
345.98 อ่านว่า three hundred and forty-five point nine eight
123.09 อ่านว่า one hundred and twenty-three point zero nine
345.98 อ่านว่า three hundred and forty-five point nine eight
123.09 อ่านว่า one hundred and twenty-three point zero nine
3. การอ่านหน่วยเงิน บางครั้งหน่วยเงินจะมีจุดทศนิยม ให้อ่านแบบมีหลักทั้งตัวที่อยู่หน้าจุดและหลังจุด หน่วยสกุลเงินในแต่ละประเทศจะมีหน่วยเงินหลักและหน่วยเงินรอง เช่น
เงินดอลล่าร์ จะมี หน่วย dollar เป็นหน่วยหลัก และ cent เป็นหน่วยรอง
เงินปอนด์ จะมีหน่วย pound เป็นหน่วยหลัก และ pence เป็นหน่วยรอง
เงินยูโร จะมีหน่วย euro เป็นหน่วยหลัก และ cent เป็นหน่วยรอง
เงินปอนด์ จะมีหน่วย pound เป็นหน่วยหลัก และ pence เป็นหน่วยรอง
เงินยูโร จะมีหน่วย euro เป็นหน่วยหลัก และ cent เป็นหน่วยรอง
มีวิธีการอ่านดังนี้ค่ะ
1,653.40 USD one thousand six hundred and fifty-three dollars and forty cents
37,231.50 EUR thirty-seven thousand two hundred and thirty-one Euros and fifty cents
37,231.50 EUR thirty-seven thousand two hundred and thirty-one Euros and fifty cents
4. การอ่านอัตราส่วน
เวลาอ่านตัวเลขที่เป็นอัตราส่วนที่พบบ่อยคือพวกผลคะแนนในกีฬาต่างๆ ให้อ่าน เครื่องหมาย : ว่า to เช่น
3:4 อ่านว่า three to four
2:0 อ่านว่า two to zero
2:0 อ่านว่า two to zero
5. การอ่านเลขยกกำลัง
การอ่านเลขยกกำลังในภาษาอังกฤษ จะมีคำเฉพาะอยู่สองตัวคือ ถ้ายกกำลัง 2 ให้ใช้คำว่า squared ถ้ายกกำลัง 3 ให้ใช้คำว่า cubed เช่น
23 อ่านว่า two cubed
42 อ่านว่า four squared
42 อ่านว่า four squared
แต่ถ้าเป็นเลขยกกำลังตัวอื่นให้อ่านเลขยกกำลังเป็นแบบลำดับที่แบบนี้ค่ะ
105 อ่านว่า ten to the fifth power
312 อ่านว่า three to the twentieth power
4n อ่านว่า four to the n-th power
312 อ่านว่า three to the twentieth power
4n อ่านว่า four to the n-th power
นอกจากตัวเลขทางคณิตศาสตร์ที่มีวิธีการอ่านเป็นภาษาอังกฤษแบบยากๆแล้ว ตัวเลขอื่นๆที่เราพบเจอก็ยังมีวิธีการอ่านเฉพาะตัวของมันอีกเยอะแยะมากมายเลย เช่น การอ่านบ้านเลขที่ การอ่านเบอร์โทรศัพท์ การอ่านส่วนสูง
1. การอ่านบ้านเลขที่
ปกติการอ่านบ้านเลขที่จะอ่านได้หลายรูปแบบ แล้วแต่จำนวนตัวเลข คือ
ปกติการอ่านบ้านเลขที่จะอ่านได้หลายรูปแบบ แล้วแต่จำนวนตัวเลข คือ
ถ้าเป็นจำนวนคู่ ให้อ่านทีละคู่ เช่น
42 forty-two
1023 ten twenty-three
1023 ten twenty-three
ถ้าเป็นจำนวนคี่ให้อ่านแยกทีละตัวไปเลย หรือ อ่านเศษไว้ต้นแล้วคู่ที่พอดีให้อ่านไว้ด้านหลัง เช่น
6 six
387 three eighty-seven หรือ three eight seven
205 two oh five (ถ้ามี 0 คั่นกลางให้อ่านเรียงตัวไปเลย)
200 two hundred (ถ้ามี 0 หลายๆตัวให้อ่านเป็นจำนวนไปเลย)
387 three eighty-seven หรือ three eight seven
205 two oh five (ถ้ามี 0 คั่นกลางให้อ่านเรียงตัวไปเลย)
200 two hundred (ถ้ามี 0 หลายๆตัวให้อ่านเป็นจำนวนไปเลย)
ถ้ามี / คั่นให้อ่านว่า slash หรือ stroke เช่น
546/3 five forty-six slash three หรือ five forty-six stroke three
2. การอ่านเบอร์โทรศัพท์
เวลาอ่านเบอร์โทรศัพท์ นั้นง่ายมากๆ ให้อ่านเรียงตัวไปเลย ถ้าเป็นเลข 0 มักจะอ่านว่า oh แต่ถ้ามีเลขซ้ำกันสองตัวมักใช้คำว่า double เวลาอ่านก็ควรแบ่งวรรค เช่น แบ่งแบบ 3/3/4 เช่น
เวลาอ่านเบอร์โทรศัพท์ นั้นง่ายมากๆ ให้อ่านเรียงตัวไปเลย ถ้าเป็นเลข 0 มักจะอ่านว่า oh แต่ถ้ามีเลขซ้ำกันสองตัวมักใช้คำว่า double เวลาอ่านก็ควรแบ่งวรรค เช่น แบ่งแบบ 3/3/4 เช่น
086-3546721 oh eight six, three five four, six seven two one
02-7753226 oh two, double seven five, three double two six
02-7753226 oh two, double seven five, three double two six
3. การอ่านส่วนสูง
การบอกส่วนสูงในภาษาอังกฤษจะบอกได้ 2 แบบ คือ บอกเป็นฟุต กับ บอกเป็นเมตร
การบอกส่วนสูงในภาษาอังกฤษจะบอกได้ 2 แบบ คือ บอกเป็นฟุต กับ บอกเป็นเมตร
บอกเป็นฟุต เช่น
I am 5’6” อ่านว่า
I am five feet six inches tall.
I am five feet six inches.
I am five feet six.
I am five feet six inches tall.
I am five feet six inches.
I am five feet six.
บอกเป็นเมตร เช่น
I am 1.62 m. อ่านว่า
I am one metre sixty-two centemetres tall.
I am one metre sixty-two.
I am 1.62 m. อ่านว่า
I am one metre sixty-two centemetres tall.
I am one metre sixty-two.
CR :: www.pasaangkit.com
การอ่านค่านิยมต่างๆ เป็นภาษาอังกฤษอย่างถูกต้อง
ทศนิยม (Decimals) คือ การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนที่มีค่าน้อยกว่า 1 หรือการเขียนตัวเลขประเภทเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 10,100,1000 แต่เปลี่ยนรูปจากเศษส่วนมาเป็นรูปทศนิยม โดยใช้เครื่องหมาย . (จุด) แทน ซึ่งการเขียนจุดทศนิยมนั้นจะว่าไปแล้วก็มีบทบาทในชีวิตประจำวันของคนเราอยู่ตลอด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของจำนวนเงิน การบอกเวลา การวัดหน่วยความยาวต่างๆ เพื่อนๆ ทราบกันยังหรือยังคะว่าการอ่านค่าทศนิยมเป็นภาษาอังกฤษต้องอ่านอย่างไร
การอ่านทศนิยมเป็นภาษาอังกฤษ แบบถูกต้อง
การอ่านเลขทศนิยม ตัวเลขที่อยู่ด้านหน้าจุดให้อ่านแบบจำนวนนับ (cardinal numbers) ส่วนจุดอ่านให้ว่า point ออกเสียงว่า พอยน์ท แต่ถ้าเป็นตัวเลขหลังจุด ให้อ่านเรียงทีละตัว ถ้าเจอเลขศูนย์ให้อ่านว่า oh (โอ) หรือ Zero (เซีย'โร) ก็ได้
ยกตัวอย่างเช่น
0.78 อ่านว่า zero point seven eight (เซีย'โร พอยน์ท เซฟว'เวิน เอท)
0.78 อ่านว่า zero point seven eight (เซีย'โร พอยน์ท เซฟว'เวิน เอท)
10.25 อ่านว่า ten point two five (เท็น พอยน์ท ทู ไฟว์)
85.39 อ่านว่า eight-five point three nine (เอท'ที-ไฟว พอยน์ท ธรี ไนน)
105.3004 อ่านว่า one hundread and five point three oh oh four ( วัน ฮัน'เดรด แอนด ไฟว พอยน์ท ธรี โอ โอ ฟอร์)
หวังว่าเพื่อนๆทุกคนคงได้วิธีการอ่านทศนิยมในภาษาอังกฤษอย่างถูกต้องแล้วนะ พยายามที่ฝึกพูดบ่อยๆก็จะทำให้เราจำได้เองครับ เช่น เวลาเราเห็นเลขทศนิยม เราก็ลองอ่านเป็นภาษาอังกฤษเล่นๆดู มันจะซึมเข้าหัวโดยไม่รู้ตัวเลยล่ะ
ที่มา campus-star , res.cloudinary.com/
คำศัพท์คณิตศาสตร์: เศษส่วนและทศนิยม
หลังจากเรียนรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ไปแล้ว วันนี้ DailyEnglish ขอนำเสนอคำศัพท์คณิตศาสตร์ที่ทุกคนคุ้นเคย ได้แก่ เศษส่วนและทศนิยม นั่นเอง หลายๆคนอาจยังไม่รู้ว่า จำนวนเศษส่วนต่างๆนั้น เรียกว่ายังไงในภาษาอังกฤษ อย่ารอช้า มาดูกันเลยค่ะ
การอ่านเศษส่วน (Fraction)
1/6 one-sixths อ่านว่า วัน-ซิคธ์ส
¼ one-fourths อ่านว่า วัน-ฟอร์ธส
1/3 one-thirds อ่านว่า วัน-เธิร์ดส
½ one-half อ่านว่า วัน-ฮาล์ฟ หรือ อะ-ฮาล์ฟ
¾ three-fourths อ่านว่า ธรี- ฟอร์ธส
¼ one-fourths อ่านว่า วัน-ฟอร์ธส
1/3 one-thirds อ่านว่า วัน-เธิร์ดส
½ one-half อ่านว่า วัน-ฮาล์ฟ หรือ อะ-ฮาล์ฟ
¾ three-fourths อ่านว่า ธรี- ฟอร์ธส
เคล็ดลับง่ายๆของการอ่านเลขเศษส่วน
1. ถ้าเป็น 1/x ให้อ่านเลข 1 ข้างบนแบบปกติ แต่ข้างล่างให้อ่านเหมือนเลขลำดับ ซึ่งก็คือการเติม (-st, -nd, -rd,-th) นั่นเองจ้า
2. ถ้าจำนวนข้างบนไม่ใช่ 1 อ่านตัวข้างบนตามปกติ แต่!!! ข้างล่างนอกจากจะอ่านเหมือนเลขลำดับแล้ว เรายังต้องเติม (-s) เข้าไปด้วยน้า
3. สามารถอ่านเลยข้างบน ตามด้วย โอ-เฟ่อะ (over) ตามด้วยเลขข้างล่างก็ได้ เช่น 13/14 = thirteen over fourteen
1. ถ้าเป็น 1/x ให้อ่านเลข 1 ข้างบนแบบปกติ แต่ข้างล่างให้อ่านเหมือนเลขลำดับ ซึ่งก็คือการเติม (-st, -nd, -rd,-th) นั่นเองจ้า
2. ถ้าจำนวนข้างบนไม่ใช่ 1 อ่านตัวข้างบนตามปกติ แต่!!! ข้างล่างนอกจากจะอ่านเหมือนเลขลำดับแล้ว เรายังต้องเติม (-s) เข้าไปด้วยน้า
3. สามารถอ่านเลยข้างบน ตามด้วย โอ-เฟ่อะ (over) ตามด้วยเลขข้างล่างก็ได้ เช่น 13/14 = thirteen over fourteen
การอ่านทศนิยม (Decimal)
การอ่านทศนิยม แบ่งเป็น 3 ส่วนง่ายๆค่ะ
1. ตัวเลขด้านหน้าจุด – อ่านแบบจำนวนนับปกติ
2. จุดทศนิยม – อ่านว่า Point (พอยน์ท)
3. ตัวเลขหลังจุด – ให้อ่านเรียงทีละตัว ถ้าเจอเลขศูนย์ ให้อ่านว่า Oh (โอ) หรือ Zero (ซีโร) ก็ได้ค่ะ
1. ตัวเลขด้านหน้าจุด – อ่านแบบจำนวนนับปกติ
2. จุดทศนิยม – อ่านว่า Point (พอยน์ท)
3. ตัวเลขหลังจุด – ให้อ่านเรียงทีละตัว ถ้าเจอเลขศูนย์ ให้อ่านว่า Oh (โอ) หรือ Zero (ซีโร) ก็ได้ค่ะ
เอาล่ะ เรามาดูตัวอย่างกันเลย
2.40 = two point four oh
21.88 = twenty-one point eight eight
0.95 = zero point nine five
101.701 = one hundred and one point seven oh one
21.88 = twenty-one point eight eight
0.95 = zero point nine five
101.701 = one hundred and one point seven oh one
Note: สำหรับเลข 0 คนอังกฤษจะนิยมอ่านว่า Oh (โอ) แต่สำหรับคนอเมริกันจะอ่านว่า Zero (ซีโร)
ที่มา :: https://www.dailyenglish.in.th