Learn with Prin เรียนรู้ไปพร้อมกับน้องปริญญ์

จำหน่ายผลิตภัณฑ์ Legacy /Reborn Set ลด Fat ตัวช่วยลดไขมัน ลดน้ำหนัก แบบถูกวิธี 🔥 ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ 📍 โทร ☎️ :: 084-110-5021 🌸 Line ID :: pla-prapasara 🌸 รับโปรโมชั่นสุดพิเศษเฉพาะทาง Line นะคะ 📍

วันอังคารที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ของที่ห้ามนำเข้าหรือส่งออกมีอะไรบ้าง

ของที่ห้ามนำเข้าหรือส่งออกมีอะไรบ้าง
 



A : ของที่ห้ามไม่ ให้นำเข้าหรือส่งออกนอกประเทศ เรียกว่า "ของต้องห้าม" เช่น ยาเสพติด สิ่งพิมพ์หรือวัสดุลามก และสัตว์ป่าสงวน เป็นต้น ส่วนของบางประเภท ที่กฎหมายควบคุมการนำเข้าและส่งออกนอกประเทศเรียกว่า "ของต้องกำกัด" คือต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้องโดยก่อนการนำเข้า และส่งออกจะต้องนำหลักฐานใบอนุญาต มาแสดงในขณะปฏิบัติพิธีการศุลกากร สำหรับความผิดในการนำเข้าและส่งออกของต้องกำกัดโดยไม่มีใบอนุญาต จะต้องถูกปรับไม่เกิน 4 เท่าของราคาสินค้ารวมค่าอากร หรือจำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ และของกลางยังจะต้องถูกริบด้วย

     สำหรับรายละเอียดสามารถดูได้ที่เว็บไซต์หัวข้อ 
ของควบคุมการนำเข้า-ส่งออก






คลังความรู้




Q : ถ้าต้องการทราบว่าสินค้าที่จะนำเข้าจัดอยู่ในประเภทพิกัดใด มีอัตราภาษีนำเข้าของสินค้าเป็นเท่าใด ต้องทำอย่างไรบ้าง ต้องสอบถามเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ และต้องส่งหนังสือสอบถามไปยังหน่วยงานใด และหลังจากส่งหนังสือสอบถามแล้วจะได้รับคำตอบเมื่อใด 




Q : บริษัทฯ มีการสั่งเคมีเพื่อมาทดลองใช้ในขบวนการผลิต ซึ่งเป็นการสั่งเข้าครั้งแรก Shipping ได้แจ้ง พิกัดฯ ภาษี ให้บริษัทฯ สำแดงต่อศุลกากร ซึ่งผิดพิกัดฯ โดยเหตุการณ์นี้จะถือว่าบริษัทฯ มีเจตนาทำผิดหรือไม่ และในฐานะที่บริษัทฯ สุจริต บริษัทฯ จะต้องทำอย่างไร 




Q : การฝากคนรู้จักซื้อสินค้าจากต่างประเทศแล้วส่งมาให้ กับการสั่งซื้อทางอินเตอร์เน็ต วิธีไหนคุ้มค่ากว่ากัน 




Q : คนเดินทางเข้ามาในประเทศไทย มีของสิ่งใดบ้างที่เข้าประเทศได้โดยไม่ต้องเสียภาษี และมีสิ่งใดบ้างที่ต้องเสียภาษี 




Q : สินค้าหนีภาษีที่จับกุมได้จะดำเนินการอย่างไร 




Q : ต้องการนำรถยนต์เข้ามาในประเทศ จะต้องทำอย่างไร 




Q : ระบบการประเมินราคาตามความตกลงแกตต์เป็นอย่างไร 




Q : การชำระภาษีหรือเงินค้ำประกันในรูปแบบใหม่ ผ่านทางธนาคารมีวิธีการอย่างไร


Q : หลักเกณฑ์ในการนำเข้า และ ส่งออก เงินตรามีข้อกำหนดอย่างไร




Q : ถ้าต้องการนำของเครื่องใช้ส่วนตัวกลับมาเมืองไทยจะต้องเสียภาษีหรือไม่และต้องดำเนินการอย่างไรบ้าง 




Q : ถ้าจะขับเรือยอร์ชเข้าประเทศไทยจะอยู่ได้นานเท่าไร จึงจะไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า




Q : ถ้าต้องการส่งตัวอย่างสินค้าไปให้ลูกค้าต่างประเทศ และนำกลับเข้ามาจะต้องเสียภาษีนำเข้าประเทศหรือไม่ 




Q : ถ้าต้องการขับรถออกนอกประเทศต้องทำอย่างไรบ้าง 




Q : ทำไมต้องมีการวางประกันใบขนสินค้า




Q : พิธีการศุลกากร สำหรับการนำเข้าของเช่าต้องทำอย่างไรบ้าง




Q : ถ้าต้องการนำเข้าสินค้ามาจากประเทศหนึ่งเพื่อ จะมาบรรจุหีบห่อและส่งออกไปขายอีกประเทศหนึ่ง สามารถทำได้หรือไม่ และมีพิธีการศุลกากรยุ่งยากหรือไม่ ? 




Q : ถ้าสั่งสินค้าเข้ามา และเสียภาษีขาเข้าเรียบร้อยแล้ว ปรากฏว่าสินค้าที่ส่งมานั้น ไม่ตรงตาม สเป็คที่สั่งไป จึงได้ทำการส่งสินค้ากลับคืนไปยังผู้ผลิต อยากทราบว่าจะได้รับภาษีคืนหรือไม่
Q : ถ้าต้องการนำรถยนต์ส่วนตัว ที่ใช้งานมาแล้ว จากต่างประเทศเข้ามาในประเทศไทย อยากถามว่ามีขั้นตอนในการนำเข้าอย่างไรและต้องเสียภาษีนำข้าเท่าใด รวมถึงหลักเกณฑ์อย่างไรในการคิดค่าภาษี 


Q : ถ้านักท่องเที่ยวต้องการนำรถจักรยานยนต์เข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทยเป็นการชั่วคราว จะต้องทำอย่างไร 




Q : ต้องการส่งสินค้าไปซ่อมที่ต่างประเทศ อยากสอบถามรายละเอียดในการทำใบสุทธินำกลับ 




Q : บริษัทต้องการที่จะเช่าเครื่องจักรโดยการนำ เข้ามาจากประเทศสิงคโปร์ โดยจะต้องจ่ายค่าเช่าเป็นรายเดือน อยากทราบว่าเครื่องจักรที่บริษัทจะเช่าและนำเข้ามานั้น จะต้องเสียภาษีศุลกากรอย่างไร 




Q : บริษัทฯตั้งอยู่ในเขตนิคมลำพูน กรณีส่งสินค้าไปให้ลูกค้า เช่น ส่งไปฮ่องกงทางอากาศ จะต้องขึ้นเครื่องที่สนามบินเชียงใหม่ โดยซื้อขายราคา FOB Chiang Mai Airport เอกสารที่เดินพิธีการจะต้องสำแดงเป็น FOB Chiang Mai หรือต้องเป็น FOB Bangkok Airport 




Q : ขณะนี้บริษัทกำลังจะได้รับ order สินค้าประเภทเสื้อผ้าสำเร็จรูปเพื่อส่งออกไปยังประเทศสิงคโปร์และมาเลเซีย จึงอยากทราบว่าสินค้าประเภทนี้จะสามารถขอชดเชยค่าภาษีอากรได้หรือไม่ ถ้าได้จะสามารถตรวจสอบอัตราภาษีที่ขอชดเชยได้จากแหล่งใดบ้าง 




Q : ในกรณีสั่งซื้อสินค้าจากต่างประเทศทาง Internet เช่น อุปกรณ์กอล์ฟ เครื่องใช้ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ ตุ๊กตา ฯลฯ เพื่อใช้เองส่วนตัวและให้จัดส่งโดยทางพัสดุไปรษณีย์จะต้องเสียภาษีหรือไม่ และอัตราเท่าใด 




Q : ถ้าต้องการส่งสินค้าออกไปประเทศอังกฤษปีละ ประมาณ 5-6 ครั้ง ควรต้องดำเนินการอย่างไรบ้างเกี่ยวการการส่งออก กรุณาช่วยอธิบายรายละเอียดและขั้นตอนให้ทราบด้วย




Q : ขอทราบระเบียบขั้นตอนและการปฏิบัติในการนำเข้าสินค้าภายใต้ AFTA โดยอัตราอากรภายใต้ ATIGA และ WTO ต่างกันอย่างไรและควรเลือกใช้อัตราใด รวมถึงเอกสารที่ต้องใช้ในการนำเข้า และสามารถตรวจสอบอัตราอากรภายใต้ ATIGA ได้ที่ไหน




Q : ขอทราบรายละเอียดการดำเนินการสมัครเป็น Customs Brokers 




Q : หากมีความประสงค์จะขอจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บน จะต้องมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง และมีขั้นตอนในการขออนุญาตอย่างไร 




Q : อยากทราบรายละเอียดของ Free Trade Zone รวมถึงเงื่อนไขในการขอจัดตั้ง และสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับในการจัดตั้ง Free Trade Zone 




Q : บริษัทเป็นโรงงานผลิตเสื้อผ้าเพื่อส่งออกและ ได้รับบัตรส่งเสริมจาก BOI แต่ขณะนี้กำลังดำเนินการขอยกเลิกอยู่ และมีผู้แนะนำว่าให้ทำเรื่อง 19 ทวิ เพื่อขอคืนภาษีภายหลัง จึงขอทราบขั้นตอนในการขออนุมัติ 19 ทวิตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งได้เลขที่สูตร 




Q : อยากทราบพิธีการนำเข้าและอัตราภาษีศุลกากร สำหรับการนำเข้าเปลือกไข่นกกระจอกเทศโดยละเอียดเนื่องจากไม่มีประสบการณ์และ ไม่ทราบรายละเอียด จะสอบถามหรือค้นได้จากที่ใด 


Q : ขอทราบรายละเอียดพิธีการการส่งสินค้ากลับคืนไปยังต่างประเทศ (Re-export) ว่ามีเงื่อนไขและขั้นตอนอย่างไร 




Q : ผมต้องการส่งการ์ดคอมพิวเตอร์ไปซ่อมที่ อเมริกาทาง DHL เมื่อซ่อมเสร็จแล้วตอนส่งกลับต้องเสียภาษีขาเข้าหรือเปล่า ต้องทำอย่างไรถึงไม่ต้องเสียภาษีขาเข้าเพราะเป็นการส่งซ่อม 


Q : ของนำเข้าที่ได้ปฏิบัติพิธีการนำเข้าตามปกติและชำระค่าภาษีไปแล้ว จะมาขอคืนเงินอากรโดยใช้สิทธิลดอัตราอากร ATIGA ได้หรือไม่ 




Q : การนำตัวอย่างสินค้า (เครื่องประดับ) ไปให้ลูกค้าดูที่ต่างประเทศจะต้องเสียภาษีขาออกหรือไม่และในอัตราใด 




Q : การนำเข้าสินค้าที่ใช้ในการเกษตรจะได้รับยกเว้นอากรใช่หรือไม่ 




Q : ปัจจุบันนำเข้าเครื่องจักรผ่านคลังสินค้า ทัณฑ์บนใช้เวลาในการปล่อย 7 วัน ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ขอเอกสารจำนวนมากในการตรวจปล่อย ซึ่งเคยเข้าทาง BOI ใช้เวลาปล่อยประมาณ 1-2 วันเท่านั้น จะมีวิธีการใดบ้างที่จะลดขั้นตอนในการตรวจปล่อย





ที่มา   ::     http://www.customscarecenter.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539706637&Ntype=3

 เรียบเรียงโดย  ::   ประภัสรา  โคตะขุน  



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น