Learn with Prin เรียนรู้ไปพร้อมกับน้องปริญญ์

จำหน่ายผลิตภัณฑ์ Legacy /Reborn Set ลด Fat ตัวช่วยลดไขมัน ลดน้ำหนัก แบบถูกวิธี 🔥 ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ 📍 โทร ☎️ :: 084-110-5021 🌸 Line ID :: pla-prapasara 🌸 รับโปรโมชั่นสุดพิเศษเฉพาะทาง Line นะคะ 📍

วันอาทิตย์ที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2556

Baby massage

Baby massage




Massage is a lovely way for you to express your love and care for your baby. It can soothe your baby and help her to sleep. You and your partner may find it relaxing too!


What is baby massage?

 
Baby massage is gentle, rhythmic stroking of your baby's body with your hands. As part of your massage routine, you can also gently manipulate your baby's ankles, wrists and fingers.

The soothing strokes of your hands stimulate the production of the feel-good hormone oxytocin in you, your baby and even your partner if he's watching. Oxytocin is the hormone that gives you that
warm, loving feeling when you hold your baby close or breastfeed her.

 

 

What are the benefits of baby massage?

 
There are lots of ways baby massage can benefit not just your baby, but you and your partner as well. Massage can be particularly good for premature babies (Field et al 2010, Vickers et al 2004), helping them to grow and thrive. But massage is good for full-term babies too. In fact, all small children can benefit from massage.
Massage may help your baby to:

 



One study showed that massage may reduce the number of illnesses your baby has, cutting down on the need for trips to see the doctor or nurse. We need more studies to be done to confirm this, though (Underdown et al 2006).

There's also a theory that touch and skin-to-skin contact help to stimulate your baby's
brain development (Winkley 1999).


You may find giving your baby a massage lifts your mood and helps you to feel more empowered as a parent. The time you set aside for a massage can be your special time together.


As you massage your baby, it comes naturally to chat to her and make plenty of eye contact with her (Underdown et al 2006). This is one reason why massage can help mums with

postnatal depression (Field 2010). Find out about the other benefits of baby massage for mums with depression and their babies.

Baby massage can be great for dads, too. Some dads may miss out on a lot of the hands-on care of their babies, especially if they are at work and their baby is
breastfed. A regular massage with dad can become a routine, perhaps at bedtime, that helps to bring them closer (Magill-Evans et al 2006).

 

 

When is the best time to massage my baby?

 
Try to pick a time when your baby is between feeds. Then she won't be too hungry or too full. It's also best not to start just before her nap. A good time to massage your baby is when she is awake, but settled.

If your baby is sleeping and
feeding often you may wonder when this golden time for massage is going to come around! You'll get to know when your baby is most content to have a massage. You may like to make it part of your baby's bedtime routine, perhaps after a bath and before a bedtime feed.

A massage before bedtime will help your baby to wind down after the stimulations of the day and become calm, ready for sleep.


 

 

What do I need before I start a massage?

 
Make sure the room is warm, and there are no draughts. Then lay your baby down on a towel or folded sheet, perhaps with a changing mat underneath. You may prefer to keep your baby's vest on if it is a little cool. Or let her enjoy being completely naked for a change.

As this is a special time for you and your baby, make sure there aren't any distractions in the room. If you have a pet, put it in another room, and turn off your mobile phone. You may even like to play some relaxing music, turned low enough so that your baby can hear you talk to her.

Have everything that you'll need to hand, including:
 

  • massage oil
  • towels or muslin squares to mop up any accidents
  • clothes to dress your baby in afterwards
  • your usual nappy-changing kit


Using oil or cream will make it easier for your hands to glide over your baby's skin and may be more relaxing for your baby (Field et al 1996). It's up to you whether you use a baby moisturiser or vegetable oil or baby mineral oil for massage.


Whichever oil or cream you use, it's best to dab a little on your baby's skin first, just in case she has a reaction.


However, there are some oils or creams that it's definitely best not to use, because there's a chance they'll irritate your baby's skin. These are:

 

  • Mustard oil, because the way it's processed may mean it is contaminated with other seeds (Darmstadt et al 2002).

  • Peanut oil, because, unless it's refined, the proteins it contains may trigger an allergic reaction on your baby's skin. It's hard to find pure, refined peanut oil.

  • Aqueous cream, because it contains detergents that may irritate your baby's skin (DH 2009).

If your baby has eczema, you can use her prescribed cream during the massage.

 

 

How should I massage my baby?

 
You may like to follow a routine pattern, perhaps massaging your baby's legs before her arms, hands and body. Your baby will appreciate a routine, too. She'll find it comforting to know what's coming next. The first few times you may just want to do your baby's legs until she gets used to the sensation.


To learn a massage routine, you could ask your health visitor whether there is a clinic or children's centre near you that runs a baby massage course.

If you want to get started sooner, look at our
step-by-step guide or follow this routine:


  • Warm a tiny squirt of oil or cream in your hands by rubbing it between your palms.
  • Very gently rub it into your baby's skin, starting with her legs. It's a good place to start because your baby is used to having her legs touched during nappy changes.

  • Work your way up her legs, lightly squeezing her calves and thighs.


  • For your baby's chest and tummy, gently place both hands flat against the centre of her body. Spread your hands to the sides, as if flattening the pages of a book.


  • With your hands still flat, use your fingertips to stroke outward in small circles.


  • Keep going for as long as your baby seems to be enjoying it.

Reading your baby’s cues is the most important aspect of massage. Your baby will tell you when the massage needs to end and which strokes she's liking or disliking. If your baby starts to cry during the massage, she is telling you that she has had enough.

 
http://www.babycentre.co.uk/a1042915/baby-massage#ixzz2QROMTDBq





How to massage your baby


Getting to know you
 
These techniques are good for all babies who aren't yet crawling. For the best chance of success, don't try a massage just before or after a meal or when she needs a nap. When you think she's ready, set yourself up on the floor with a towel and a small bowl of oil suitable for massage. If your baby seems to be uncomfortable or starts crying before you have finished the massage, stop and give her a cuddle instead.


 



The legs

Her legs are a good place to begin, as they're less sensitive than some parts of her body. Using a little oil, wrap your hands around one of her thighs and pull down, one hand after the other, squeezing gently, as if you're "milking" her leg. Switch legs and repeat.





The feet

Take one foot and gently rotate it a few times in each direction, then stroke the top of her foot from the ankle down to the toes. Switch feet and repeat.




The soles

Use your thumbs to trace circles all over the bottom of each foot.





The toes

To finish off the feet, take each toe between your thumb and forefinger and gently pull until your fingers slip off the end. Repeat for all ten toes.



The arms

Take one of her arms in your hands and repeat the milking motion from her armpit all the way to her wrist. Then, take her hand and gently rotate her wrist a few times in each direction. Switch arms and repeat.




The hands


Trace tiny circles over the palm of each of her hands with your thumbs.





The fingers

Gently take a finger between your thumb and forefinger and pull, letting her finger slip through your grasp. Repeat for all her fingers and both thumbs.




The chest


Place your hands together in prayer position over her heart. Then, opening out your hands slowly, stroke outward and lightly flatten the palms over her chest. Repeat several times.




The chest (continued)

Place one hand flat across the top of her chest. Stroke it gently down to her thighs. Repeat the motion, alternating hands, several times.





The back

Roll your baby onto her tummy. Using your fingertips, trace tiny circles on either side of her spine from the neck down to the buttocks.





The back (continued)

 
Finish with some long, firm strokes from her shoulders all the way to her feet. When you have finished, put on her nappy and cuddle or breastfeed her. She'll probably doze off!





 
 
 

วิดีโอ YouTube


วิดีโอ YouTube


วิดีโอ YouTube


วิดีโอ YouTube


วิดีโอ YouTube


 

วิดีโอ YouTube














 


17 ท่านวดง่ายๆ' ช่วยลูกน้อย 'ผ่อนคลาย-สุขภาพดี





 
 
17 ท่านวดง่ายๆ' ช่วยลูกน้อย 'ผ่อนคลาย-สุขภาพดี




คงจะปฏิเสธไม่ได้ว่า "การนวด"คือศาสตร์ที่ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดของกล้ามเนื้อ ทำให้การไหลเวียนของเลือดดีขึ้น แต่จะมีใครสักกี่คนที่ทราบว่า การนวดยังช่วยกระตุ้นระบบประสาทในสมองที่ควบคุมการดูดซึมอาหาร ส่งผลให้ทารกมีน้ำหนักเพิ่มตามพัฒนาการ ช่วยลดฮอร์โมนที่สร้างความตึงเครียดให้กับทารก

และสำหรับเด็กที่คลอดก่อนกำหนด หลับยาก หรือร้องกวน การนวดจะช่วยให้เด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตามพัฒนาการได้อย่างรวดเร็ว ทั้งยังช่วยให้เด็กหลับได้ง่ายขึ้น

ความมหัศจรรย์ของการนวดข้างต้น ทีมงานจะนำข้อมูลดีๆ จากแผนกเด็กแรกเกิด (nursey) โรงพยาบาลบีเอ็นเอช สาทร-คอนแวนต์ เกี่ยวกับท่าการนวดสัมผัสเด็กแรกเกิด ถึง 3 ปี มาฝากคุณพ่อคุณแม่กัน เพราะการนวดเป็นการบำบัดผ่านการสัมผัสที่ดีที่สุด ทำให้พ่อแม่ลูกมีการสื่อสารและปฏิกริยาตอบกลับระหว่างกันได้โดยสมบูรณ์ ซึ่งท่านวดสัมผัสที่พ่อแม่ทำได้ง่ายที่บ้านกับลูกนั้น มีด้วยกัน 17 ท่า สามารถอธิบายประโยชน์ และลักษณะของท่าต่างๆ ได้ดังต่อไปนี้
 
*** ท่านวดบริเวณศีรษะ และหน้า


เป็นท่าที่ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า แบ่งออกเป็น 2 ท่าคือ ท่าที่คาดผม และท่ายิ้มแฉ่ง

 
ท่าที่ 1 ท่าที่คาดผม

ขั้นตอนง่ายๆ คือ จัดท่าให้เด็กนอนหงาย วางฝ่ามือทั้งสองบนศีรษะ ใช้นิ้วประสานกันเล็กน้อยตรงแนวกึ่งกลางของศีรษะจากนั้นลูบลงไปจนถึงปลายคาง

 
ท่าที่ 2 ท่ายิ้มแฉ่ง

ช่วยกระตุ้นการกิน การดูดกลืนของทารก และยังช่วยบรรเทาความเจ็บปวดในช่วงที่ฟันกำลังเริ่มขึ้น

- ใช้ปลายนิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้างวางตรงกลางเหนือริมฝีปากบน แล้วลากออกมาเป็นเส้นตรงจนสุดขอบปาก ทำ 5 ครั้ง ต่อจากนั้นนวดบริเวณริมฝีปากล่างในลักษณะเดียวกันอีก 5 ครั้ง

- ใช้ปลายนิ้วกลางลูบไล้ขอบปาก วนเป็นวงกลมอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มจากมุมปากข้างหนึ่งผ่านเหนือริมฝีปากบนไปยังมุมปากอีกข้างหนึ่ง และวนต่อไปยังใต้ริมฝีปากล่าง จนถึงมุมตำแหน่งที่เริ่มต้นแล้ววนกลับ นับเป็น 1 ครั้ง
 

 




 
*** ท่านวดบริเวณหน้าอก

ช่วยเสริมจังหวะการทำงานของปอดและหัวใจให้ดีขึ้น ช่วยให้เด็กหายใจได้อย่างปลอดโปร่ง ซึ่งมีท่าหลักคือ ท่าเปิดหนังสือ
 
ท่าที่ 3 ท่าเปิดหนังสือ

- ใช้ฝ่ามือทั้งสองข้างลูบไล้จากบริเวณกลางอก แยกมือออกจากกันไปทางด้านข้างของลำตัวตาแนวซี่โครง โค้งลงมาชนกันที่กลางท้องน้อย โดยให้ตำแหน่งการเคลื่อนไหวตั้งแต่ต้นจนจบเหมือนการวาดรูปหัวใจ

 
*** ท่านวดบริเวณแขนและมือ


ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดต่างๆบริเวณกล้ามเนื้อแขนและมือ และกระตุ้นระบบการไหลเวียนโลหิตจากปลายแขนกลับสู่หัวใจ มีท่าหลักคือ ท่าจอดป้ายรถเมล์
 
ท่าที่ 4 ท่าจอดป้ายรถเมล์

- จับข้อมือลูกยกขึ้นเหนือศีรษะ นวดบริเวณใต้รักแร้ ซึ่งเป็นบริเวณของต่อมน้ำเหลืองใต้รักแร้

- นวดแขนทีละข้าง โดยจับแขนลูกยกขึ้นแล้วใช้มีออีกข้างาจับรอบแขน นวดคลึงเป็นห่วงวงกลมจากต้นแขนค่อยๆ เลื่อนไปสู่ข้อมือ แล้วเลื่อนลงไปต้นแขน ขึ้น-ลง ต่อจากนั้นใช้นิ้วหัวแม่มือกดฝ่ามือลูกเบาๆ (ทำเหมือนกันทั้งสองข้าง)
 
*** ท่านวดท้อง

       

เป็นท่านวดกระตุ้นระบบทางเดินอาหาร เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของกล้ามเนื้อระบบทางเดินอาหาร แบ่งออกเป็น 5 ท่า คือ ซึ่งท่าที่ 5- 7 เรียกว่าท่า I LOVE YOU ขณะที่ท่าที่ 8 และ 9 เรียกว่า ท่าปูไต่พุง และท่าระหัดวิดน้ำตามลำดับ

 
เริ่มจากท่าที่ 5 ท่า I

ใช้ฝ่ามือลูบเป็นเส้นตรงจากใต้ราวนมด้านซ้ายถึงบริเวณท้องน้อยเป็นตัว I (ด้านขวาของผู้นวด)
 
ท่าที่ 6 ท่า LOVE

ใช้ฝ่ามือลูบเป็นตัว L กลับหัวบริเวณท้อง โดยเริ่มลากมือจากซ้ายไปขวาตามแนวนอนถึงใต้ชายโครงซ้าย แล้วลากลงตรงๆถึงบริเวณท้องน้อย

 
ท่าที่ 7 ท่า YOU

ใช้ฝ่ามือลูบบริเวณท้องเป็นรูปตัวยูคว่ำ โดยเริ่มจากขวาของเด็กไปซ้าย

 
ท่าที่ 8 ท่าปูไต่พุง

ใช้นิ้วมือข้างขวาเดินไต่บริเวณท้องน้อย โดยเริ่มจากขวาของเด็กเหมือนกับการเล่นปูไต่

 
และท่าที่ 9 ท่าระหัดวิดน้ำ

- วางฝ่ามือทั้ง 2 ข้างตั้งฉาก โดยเริ่มจากใต้คาวนมเคลื่อนมือจากด้านล่างถีงบริเวณท้องน้อยที่ละข้าง ทำเป็นจังหวะ เมื่อมือข้างหนี่งเคลื่อนลงจนสุด ก็เริ่มอีกข้างหนี่งเคลื่อนลงล่าง ทำสลับกัน (ทำ 5 ครั้ง) ต่อจากนั้นใช้มือข้างซ้ายจับ ข้อเท้าทั้งสองข้างรวบเข้าด้วยกัน ช่วยผ่อนคลายกระเพาะ โดยใช้มือขวาลูบจากชายโครงลงมาเหนือหัวเหน่า (ทำ 3 ครั้ง)






 
*** ท่านวดขาและเท้า


      

การนวดขา และเท้า ลักษณะของท่าจะคล้ายกับท่านวดแขนและมือ โดยในส่วนเท้า และข้อเท้าของเด็กมีความสำคัญ เพราะเป็นส่วนที่ใช้รองรับน้ำหนักตัว เมื่อเด็กหัดยืน และเดินการนวดเท้าจะเป็นการเตรียมพร้อมให้เด็กในการหัดยืน และเป็นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อขาและเท้า แบ่งออกเป็น 3 ท่าหลักคือ ท่านวดขาให้หายเมื่อย ท่าคลึงฝ่าเท้า และท่าเดินหน้าถอยหลัง

 
ท่าที่ 10 ท่านวดขาให้หายเมื่อย


- นวดขาลูกทีละข้าง โดยจับขายกขึ้นใช้มืออีกข้างหนึ่งจับรอบขานวดคลึงเป็นวงกลม เริ่มจากต้นขาค่อยๆเลื่อนไปสู่ปลายเท้า แล้วเคลื่อนลงโดยทำขึ้น-ลงสลับกัน (ทำ 5 ครั้ง) ต่อจากนั้นใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้คลึงรอบข้อเท้าเด็ก อย่างแผ่วเบา นุ่มนวล ให้รอบข้อเท้า คลีงรอบตาตุ่มและบริเวณเอ็นร้อยหวาย


ท่านวดฝ่าเท้าน้อยๆ

 
ท่าที่ 11 ท่าลูกกลิ้ง

ใช้ฝ่ามือทั้งสองข้างกลิ้งขาลูกไปมา โดยเริ่มจากหัวเข่าไปยังข้อเท้า แล้วกลิ้งลง (ทำ 5 ครั้ง) เสร็จแล้วทำอีกข้างเช่นเดียวกัน

 
ท่าที่ 12 ท่าคลึงฝ่าเท้า

ใช้นิ้วหัวแม่มือนวดฝ่าเท้าเด็กจากส้นเท้าขึ้นมาที่นิ้วเท้าเด็กทุกนิ้ว ทีละนิ้ว จากนั้นลูบบนฝ่าเท้าเด็กเข้าหาตัวคนนวด







*** ท่านวดหลัง


เป็นอีกท่วงท่าที่เด็กโปรดปราน เพราะเป็นการนวดที่ผ่อนคลาย แบ่งออกเป็น 2 ท่าหลักคือ ท่าเดินหน้าถอยหลัง และท่าขนนก

 
ท่าที่ 13 ท่าเดินหน้าถอยหลัง


- พ่อแม่จับเด็กนอนคว่ำ ใช้ฝ่ามือทั้งสองข้างลูบตามขวางไปตามแผ่นหลังของเด็ก โดยทำสลับมือซ้าย-ขวา พร้อมๆ กัน มือขวาลูบเข้ามือซ้ายลูบออก โดยลูบจากช่วงบนลงไปสิ้นสุดบริเวณก้นกบ เคลื่อนขึ้น-ลงสลับกัน

 
ท่าที่ 14 ท่าขนนก


- ลูบตามแนวกระดูกสันหลัง ใช้ฝ่ามือเริ่มลูบจากบริเวณท้ายทอยลงมาที่สะโพกแล้วเริ่มใหม่อีกที่บริเวณท้ายทอย

*** ท่าบริหารร่างกาย

ท่าบริหารร่างหายเป็นท่าที่ต้องทำด้วยความอ่อนโยน เพื่อยืดแขน ขา ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ และช่วยให้ข้อต่างๆ ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ แบ่งออกเป็น 3 ท่า คือ ท่าไขว้แขน ท่าไขว้ขา และท่าไขว้ทแยงแขน-ขา

 
ท่าที่ 15 ท่าไขว้แขน


- จับเด็กนอนหงายใช้มือทั้งสองข้าง จับข้อมือทั้งสองของเด็กเอามาไขว้กันที่บริเวณหน้าอก นับ 1-2-3 แล้วกางออก โดยยืดแขนของเด็กออกไปจนสุด นับเป็น 1 ครั้ง (ทำ 5 ครั้ง )
 
ท่าที่ 16 ท่าไขว้ขา

- จับข้อขาทั้งสองข้างของเด็กดึงมาไขว้กันที่บริเวณท้อง (คล้ายนั่งขัดสมาธิ) นับ 1-2-3 แล้วกางขาออกเหยียดตรง แล้วไขว้ขาทั้งสองข้างเข้าหากันอีกครั้ง

 
ท่าที่ 17 ท่าไขว้ทแยงแขน-ขา

- จับข้อมือ และข้อเท้าของเด็กที่อยู่ตรงข้ามกัน ไขว้มาเฉียงกันที่หน้าอก ทำสลับข้างกัน นับเป็น 1 ครั้ง

อย่างไรก็ดี ก่อนการนวดนั้น คุณพ่อคุณแม่ ต้องเข้าใจหลักเตรียมการนวดเสียก่อน เริ่มจาก ควรนวดในช่วงที่ลูกอารมณ์ดี ไม่หิว เช่น ภายหลังอาบน้ำ หรือหลังรับประทานนมแล้วอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อให้นมที่ได้รับเริ่มย่อย ป้องกันการอาเจียน แต่ท่านวดบางท่าสามารถทำได้ทุกเวลา

เช่น ท่าลูบแขนขา ลูบไล้ศีรษะ นอกจากนี้อุณหภูมิของห้องต้องพอเหมาะ ไม่ร้อนหรือเย็นเกินไป เพราะเวลานวดต้องถอดเสื้อผ้าลูกออกทั้งหมด ก่อนนวดล้างมือให้สะอาดและทาแป้งเด็ก ถ้ามือผู้นวดแห้งควรทา Baby Lotion หรือ Baby Oil เพื่อช่วยให้การสัมผัสผิวลูกให้ลื่นไม่ระคายเคือง และควรให้ลูกนอนบนเบาะนุ่มๆ เพื่อให้ลูกได้นอนอย่างสบายขณะนวด และควรเตรียมผ้าอ้อมไว้เปลี่ยนด้วย

ทั้งนี้ แต่ละท่าในการนวดให้ลูกน้อยนั้น ควรทำ 5-10 ครั้ง โดยใช้เวลาในการนวดประมาณ 15-30 นาที ที่สำคัญ การนวดในแต่ละครั้ง คือการถ่ายทอดความรักผ่านทุกสัมผัส พ่อแม่ควรสบตากับลูก พร้อมกับพูดคุยด้วยน้ำเสียงอ่อนโยน เพื่อให้สายสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่กับลูกก่อตัวขึ้นที่ละน้อย




ที่มา    ::     Manager online / life & Family
 
 
 
 
 
 

4 ความคิดเห็น:

  1. '17 ท่านวดง่ายๆ' ช่วยลูกน้อย 'ผ่อนคลาย-สุขภาพดี'




    คงจะปฏิเสธไม่ได้ว่า "การนวด" คือศาสตร์ที่ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดของกล้ามเนื้อ ทำให้การไหลเวียนของเลือดดีขึ้น แต่จะมีใครสักกี่คนที่ทราบว่า การนวดยังช่วยกระตุ้นระบบประสาทในสมองที่ควบคุมการดูดซึมอาหาร ส่งผลให้ทารกมีน้ำหนักเพิ่มตามพัฒนาการ ช่วยลดฮอร์โมนที่สร้างความตึงเครียดให้กับทารก

    และสำหรับเด็กที่คลอดก่อนกำหนด หลับยาก หรือร้องกวน การนวดจะช่วยให้เด็กมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นตามพัฒนาการได้อย่างรวดเร็ว ทั้งยังช่วยให้เด็กหลับได้ง่ายขึ้น

    ความมหัศจรรย์ของการนวดข้างต้น ทีมงานจะนำข้อมูลดีๆ จากแผนกเด็กแรกเกิด (nursey) โรงพยาบาลบีเอ็นเอช สาทร-คอนแวนต์ เกี่ยวกับท่าการนวดสัมผัสเด็กแรกเกิด ถึง 3 ปี มาฝากคุณพ่อคุณแม่กัน เพราะการนวดเป็นการบำบัดผ่านการสัมผัสที่ดีที่สุด ทำให้พ่อแม่ลูกมีการสื่อสารและปฏิกริยาตอบกลับระหว่างกันได้โดยสมบูรณ์ ซึ่งท่านวดสัมผัสที่พ่อแม่ทำได้ง่ายที่บ้านกับลูกนั้น มีด้วยกัน 17 ท่า สามารถอธิบายประโยชน์ และลักษณะของท่าต่างๆ ได้ดังต่อไปนี้

    *** ท่านวดบริเวณศีรษะ และหน้า

    เป็นท่าที่ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า แบ่งออกเป็น 2 ท่าคือ ท่าที่คาดผม และท่ายิ้มแฉ่ง

    ท่าที่ 1 ท่าที่คาดผม ขั้นตอนง่ายๆ คือ จัดท่าให้เด็กนอนหงาย วางฝ่ามือทั้งสองบนศีรษะ ใช้นิ้วประสานกันเล็กน้อยตรงแนวกึ่งกลางของศีรษะจากนั้นลูบลงไปจนถึงปลายคาง

    ท่าที่ 2 ท่ายิ้มแฉ่ง ช่วยกระตุ้นการกิน การดูดกลืนของทารก และยังช่วยบรรเทาความเจ็บปวดในช่วงที่ฟันกำลังเริ่มขึ้น

    - ใช้ปลายนิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้างวางตรงกลางเหนือริมฝีปากบน แล้วลากออกมาเป็นเส้นตรงจนสุดขอบปาก ทำ 5 ครั้ง ต่อจากนั้นนวดบริเวณริมฝีปากล่างในลักษณะเดียวกันอีก 5 ครั้ง

    - ใช้ปลายนิ้วกลางลูบไล้ขอบปาก วนเป็นวงกลมอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มจากมุมปากข้างหนึ่งผ่านเหนือริมฝีปากบนไปยังมุมปากอีกข้างหนึ่ง และวนต่อไปยังใต้ริมฝีปากล่าง จนถึงมุมตำแหน่งที่เริ่มต้นแล้ววนกลับ นับเป็น 1 ครั้ง



    ...

    ตอบลบ
  2. ...


    *** ท่านวดบริเวณหน้าอก

    ช่วยเสริมจังหวะการทำงานของปอดและหัวใจให้ดีขึ้น ช่วยให้เด็กหายใจได้อย่างปลอดโปร่ง ซึ่งมีท่าหลักคือ ท่าเปิดหนังสือ

    ท่าที่ 3 ท่าเปิดหนังสือ

    - ใช้ฝ่ามือทั้งสองข้างลูบไล้จากบริเวณกลางอก แยกมือออกจากกันไปทางด้านข้างของลำตัวตาแนวซี่โครง โค้งลงมาชนกันที่กลางท้องน้อย โดยให้ตำแหน่งการเคลื่อนไหวตั้งแต่ต้นจนจบเหมือนการวาดรูปหัวใจ

    *** ท่านวดบริเวณแขนและมือ

    ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดต่างๆบริเวณกล้ามเนื้อแขนและมือ และกระตุ้นระบบการไหลเวียนโลหิตจากปลายแขนกลับสู่หัวใจ มีท่าหลักคือ ท่าจอดป้ายรถเมล์

    ท่าที่ 4 ท่าจอดป้ายรถเมล์

    - จับข้อมือลูกยกขึ้นเหนือศีรษะ นวดบริเวณใต้รักแร้ ซึ่งเป็นบริเวณของต่อมน้ำเหลืองใต้รักแร้

    - นวดแขนทีละข้าง โดยจับแขนลูกยกขึ้นแล้วใช้มีออีกข้างาจับรอบแขน นวดคลึงเป็นห่วงวงกลมจากต้นแขนค่อยๆ เลื่อนไปสู่ข้อมือ แล้วเลื่อนลงไปต้นแขน ขึ้น-ลง ต่อจากนั้นใช้นิ้วหัวแม่มือกดฝ่ามือลูกเบาๆ (ทำเหมือนกันทั้งสองข้าง)

    *** ท่านวดท้อง

    เป็นท่านวดกระตุ้นระบบทางเดินอาหาร เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของกล้ามเนื้อระบบทางเดินอาหาร แบ่งออกเป็น 5 ท่า คือ ซึ่งท่าที่ 5- 7 เรียกว่าท่า I LOVE YOU ขณะที่ท่าที่ 8 และ 9 เรียกว่า ท่าปูไต่พุง และท่าระหัดวิดน้ำตามลำดับ

    เริ่มจากท่าที่ 5 ท่า I ใช้ฝ่ามือลูบเป็นเส้นตรงจากใต้ราวนมด้านซ้ายถึงบริเวณท้องน้อยเป็นตัว I (ด้านขวาของผู้นวด)

    ท่าที่ 6 ท่า LOVE ใช้ฝ่ามือลูบเป็นตัว L กลับหัวบริเวณท้อง โดยเริ่มลากมือจากซ้ายไปขวาตามแนวนอนถึงใต้ชายโครงซ้าย แล้วลากลงตรงๆถึงบริเวณท้องน้อย

    ท่าที่ 7 ท่า YOU ใช้ฝ่ามือลูบบริเวณท้องเป็นรูปตัวยูคว่ำ โดยเริ่มจากขวาของเด็กไปซ้าย

    ท่าที่ 8 ท่าปูไต่พุง ใช้นิ้วมือข้างขวาเดินไต่บริเวณท้องน้อย โดยเริ่มจากขวาของเด็กเหมือนกับการเล่นปูไต่

    และท่าที่ 9 ท่าระหัดวิดน้ำ

    - วางฝ่ามือทั้ง 2 ข้างตั้งฉาก โดยเริ่มจากใต้คาวนมเคลื่อนมือจากด้านล่างถีงบริเวณท้องน้อยที่ละข้าง ทำเป็นจังหวะ เมื่อมือข้างหนี่งเคลื่อนลงจนสุด ก็เริ่มอีกข้างหนี่งเคลื่อนลงล่าง ทำสลับกัน (ทำ 5 ครั้ง) ต่อจากนั้นใช้มือข้างซ้ายจับ ข้อเท้าทั้งสองข้างรวบเข้าด้วยกัน ช่วยผ่อนคลายกระเพาะ โดยใช้มือขวาลูบจากชายโครงลงมาเหนือหัวเหน่า (ทำ 3 ครั้ง)



    ...

    ตอบลบ
  3. ...


    *** ท่านวดขาและเท้า

    การนวดขา และเท้า ลักษณะของท่าจะคล้ายกับท่านวดแขนและมือ โดยในส่วนเท้า และข้อเท้าของเด็กมีความสำคัญ เพราะเป็นส่วนที่ใช้รองรับน้ำหนักตัว เมื่อเด็กหัดยืน และเดินการนวดเท้าจะเป็นการเตรียมพร้อมให้เด็กในการหัดยืน และเป็นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อขาและเท้า แบ่งออกเป็น 3 ท่าหลักคือ ท่านวดขาให้หายเมื่อย ท่าคลึงฝ่าเท้า และท่าเดินหน้าถอยหลัง

    ท่าที่ 10 ท่านวดขาให้หายเมื่อย

    - นวดขาลูกทีละข้าง โดยจับขายกขึ้นใช้มืออีกข้างหนึ่งจับรอบขานวดคลึงเป็นวงกลม เริ่มจากต้นขาค่อยๆเลื่อนไปสู่ปลายเท้า แล้วเคลื่อนลงโดยทำขึ้น-ลงสลับกัน (ทำ 5 ครั้ง) ต่อจากนั้นใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้คลึงรอบข้อเท้าเด็ก อย่างแผ่วเบา นุ่มนวล ให้รอบข้อเท้า คลีงรอบตาตุ่มและบริเวณเอ็นร้อยหวาย



    ท่านวดฝ่าเท้าน้อยๆ


    ท่าที่ 11 ท่าลูกกลิ้ง ใช้ฝ่ามือทั้งสองข้างกลิ้งขาลูกไปมา โดยเริ่มจากหัวเข่าไปยังข้อเท้า แล้วกลิ้งลง (ทำ 5 ครั้ง) เสร็จแล้วทำอีกข้างเช่นเดียวกัน

    ท่าที่ 12 ท่าคลึงฝ่าเท้า ใช้นิ้วหัวแม่มือนวดฝ่าเท้าเด็กจากส้นเท้าขึ้นมาที่นิ้วเท้าเด็กทุกนิ้ว ทีละนิ้ว จากนั้นลูบบนฝ่าเท้าเด็กเข้าหาตัวคนนวด




    ...

    ตอบลบ
  4. ...


    *** ท่านวดหลัง

    เป็นอีกท่วงท่าที่เด็กโปรดปราน เพราะเป็นการนวดที่ผ่อนคลาย แบ่งออกเป็น 2 ท่าหลักคือ ท่าเดินหน้าถอยหลัง และท่าขนนก

    ท่าที่ 13 ท่าเดินหน้าถอยหลัง

    - พ่อแม่จับเด็กนอนคว่ำ ใช้ฝ่ามือทั้งสองข้างลูบตามขวางไปตามแผ่นหลังของเด็ก โดยทำสลับมือซ้าย-ขวา พร้อมๆ กัน มือขวาลูบเข้ามือซ้ายลูบออก โดยลูบจากช่วงบนลงไปสิ้นสุดบริเวณก้นกบ เคลื่อนขึ้น-ลงสลับกัน

    ท่าที่ 14 ท่าขนนก

    - ลูบตามแนวกระดูกสันหลัง ใช้ฝ่ามือเริ่มลูบจากบริเวณท้ายทอยลงมาที่สะโพกแล้วเริ่มใหม่อีกที่บริเวณท้ายทอย

    *** ท่าบริหารร่างกาย

    ท่าบริหารร่างหายเป็นท่าที่ต้องทำด้วยความอ่อนโยน เพื่อยืดแขน ขา ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ และช่วยให้ข้อต่างๆ ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ แบ่งออกเป็น 3 ท่า คือ ท่าไขว้แขน ท่าไขว้ขา และท่าไขว้ทแยงแขน-ขา

    ท่าที่ 15 ท่าไขว้แขน

    - จับเด็กนอนหงายใช้มือทั้งสองข้าง จับข้อมือทั้งสองของเด็กเอามาไขว้กันที่บริเวณหน้าอก นับ 1-2-3 แล้วกางออก โดยยืดแขนของเด็กออกไปจนสุด นับเป็น 1 ครั้ง (ทำ 5 ครั้ง )

    ท่าที่ 16 ท่าไขว้ขา

    - จับข้อขาทั้งสองข้างของเด็กดึงมาไขว้กันที่บริเวณท้อง (คล้ายนั่งขัดสมาธิ) นับ 1-2-3 แล้วกางขาออกเหยียดตรง แล้วไขว้ขาทั้งสองข้างเข้าหากันอีกครั้ง

    ท่าที่ 17 ท่าไขว้ทแยงแขน-ขา

    - จับข้อมือ และข้อเท้าของเด็กที่อยู่ตรงข้ามกัน ไขว้มาเฉียงกันที่หน้าอก ทำสลับข้างกัน นับเป็น 1 ครั้ง

    อย่างไรก็ดี ก่อนการนวดนั้น คุณพ่อคุณแม่ ต้องเข้าใจหลักเตรียมการนวดเสียก่อน เริ่มจาก ควรนวดในช่วงที่ลูกอารมณ์ดี ไม่หิว เช่น ภายหลังอาบน้ำ หรือหลังรับประทานนมแล้วอย่างน้อย 1 ชั่วโมง เพื่อให้นมที่ได้รับเริ่มย่อย ป้องกันการอาเจียน แต่ท่านวดบางท่าสามารถทำได้ทุกเวลา

    เช่น ท่าลูบแขนขา ลูบไล้ศีรษะ นอกจากนี้อุณหภูมิของห้องต้องพอเหมาะ ไม่ร้อนหรือเย็นเกินไป เพราะเวลานวดต้องถอดเสื้อผ้าลูกออกทั้งหมด ก่อนนวดล้างมือให้สะอาดและทาแป้งเด็ก ถ้ามือผู้นวดแห้งควรทา Baby Lotion หรือ Baby Oil เพื่อช่วยให้การสัมผัสผิวลูกให้ลื่นไม่ระคายเคือง และควรให้ลูกนอนบนเบาะนุ่มๆ เพื่อให้ลูกได้นอนอย่างสบายขณะนวด และควรเตรียมผ้าอ้อมไว้เปลี่ยนด้วย

    ทั้งนี้ แต่ละท่าในการนวดให้ลูกน้อยนั้น ควรทำ 5-10 ครั้ง โดยใช้เวลาในการนวดประมาณ 15-30 นาที ที่สำคัญ การนวดในแต่ละครั้ง คือการถ่ายทอดความรักผ่านทุกสัมผัส พ่อแม่ควรสบตากับลูก พร้อมกับพูดคุยด้วยน้ำเสียงอ่อนโยน เพื่อให้สายสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่กับลูกก่อตัวขึ้นที่ละน้อย




    Manager online / life & Family


    ...

    ตอบลบ