Learn with Prin เรียนรู้ไปพร้อมกับน้องปริญญ์

จำหน่ายผลิตภัณฑ์ Legacy /Reborn Set ลด Fat ตัวช่วยลดไขมัน ลดน้ำหนัก แบบถูกวิธี 🔥 ติดต่อสอบถาม/สั่งซื้อ 📍 โทร ☎️ :: 084-110-5021 🌸 Line ID :: pla-prapasara 🌸 รับโปรโมชั่นสุดพิเศษเฉพาะทาง Line นะคะ 📍

วันพฤหัสบดีที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2554

หมอชาวบ้าน (แม่และเด็ก)3

              หมอชาวบ้าน (แม่และเด็ก)3

แม่และเด็ก
 
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 177 | เดือน/ปี: 01/2537
สงสัยอวัยวะเพศของลูกว่าเป็นหญิงหรือชายสมจิตหอบลูก (ชาย) ออกจากโรงพยาบาลกลับไปบ้านด้วยความดีใจ ความที่เห่อลูก( ชาย ) จึงเชิญพ่อแม่ พี่น้อง ปู่ย่า ตายาย ตลอดจนเพื่อนบ้านมาเลี้ยงฉลองกันใหญ่โต พอถึงเวลาสำคัญที่ญาติพี่น้องและแขกจะได้ชมโฉม “ไอ้จู๋” ของลูก (ชาย ) สุดที่รัก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 177 | เดือน/ปี: 01/2537
กรรมพันธุ์ - สายเลือด“คุณหมอครับ ลูกสาวผมเป็นโรคอะไรกันแน่ครับ เมื่อวานแม่เลี้ยงเขามาพบคุณหมอฟังคุณหมออธิบายเกี่ยวกับโรคที่ลูกสาวผมเป็น กลับไปบ้านโกรธผมมาก หาว่าเมื่อก่อนนี้ผมคงเที่ยวเก่งจนเลือดไม่ดี ติดให้ลูก ตอนนี้ภรรยาใหม่คนนี้ของผมกำลังตั้งครรภ์ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 177 | เดือน/ปี: 01/2537
ของฝากวันเด็กบันทึกช่วยจำจากลูกในโอกาสที่วันเด็กมาถึงอีกวาระหนึ่ง ผมขอถือโอกาสมอบของขวัญสำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครอง ปู่ย่าตายาย ลุงป้าน้าอา พี่ๆ หรือญาติ ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องกับ "เด็ก" ทั้งปวง เพื่อนำไปดัดแปลงประพฤติปฏิบัติเพื่อเป็น "ของขวัญ" ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 177 | เดือน/ปี: 01/2537
สนามกีฬาสำหรับวันพรุ่งนี้เดือนก่อนผมไปประชุมที่กรุงเทพฯแม้จะเป็นเวลาเพียง 2 วันผลก็อดไม่ได้ที่จะพกรองเท้าวิ่งใส่กระเป๋าไปด้วย ปกติไม่ว่าประชุมที่ไหนผมมักจะใช้เวลาตอนเช้ามืดหรือตอนเย็นหลังเลิกประชุมวิ่งเหยาะๆ ชมบ้านชมเมือง นอกจากจะเป็นการออกกำลังกายแล้ว ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 177 | เดือน/ปี: 01/2537
"พ่อ"“ลูกที่พ่อดูแลเอาใจใส่มากจึงมีแรงผลักดันให้พยายามประสบความสำเร็จในชีวิต แต่ถ้าไม่มีแม่คอยเป็นกำลังใจลูกก็จะเกิดความเครียดมากเกินไป"วันก่อนอยากรู้ว่าเด็กไทยสมัยนี้มีภาพพจน์ของ " พ่อ " อยู่ในใจเป็นอย่างไร ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 176 | เดือน/ปี: 12/2536
ภัยเงียบคุณชัชเงยหน้าขึ้นมองป้าหมอเหมือนกับพยายามกลั้นน้ำตาไม่ให้ไหล แต่ก็ยังมีน้ำเสียงหลุดออกมาอย่างเคียดแค้นว่า “ผมอยากจะฆ่ามัน!”‘คุณชัช’ คุณพ่อวัย 30 ปีกว่าๆ คนนี้ ป้าหมอจำได้ดีว่าเมื่อ 2 สัปดาห์ก่อนเขามารับยาครั้งสุดท้ายด้วยท่าทองที่ดูแจ่มใส ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 175 | เดือน/ปี: 11/2536
ส่าไข้ข้อน่ารู้1. ส่าไข้ เป็นไข้ออกผื่นชนิดหนึ่งที่พบในทารกวัย 6 เดือนถึง 3 ขวบ ไม่พบในเด็กโตหรือผู้ใหญ่ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง ติดต่อโดยการไอ จาม หรือหายใจรดกัน ระยะฟักตัวของโรคประมาณ 7-17 วัน เมื่อเป็นแล้ว มักจะไม่เป็นซ้ำอีก โรคนี้ฝรั่งเรียกว่า “reseolar ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 175 | เดือน/ปี: 11/2536
อาหารเสริมสำหรับเด็กชนิดบรรจุขวดแม่บ้านทันสมัยที่มีสตางค์แต่ไม่มีเวลาหลายท่านพร่ำถามว่า อาหารเด็กที่บรรจุขวดที่มีจำหน่ายอยู่ในท้องตลาดขณะนี้มีคุณภาพดีไหม ดีกว่าอาหารสดไหม เพราะส่งจากนอก เด็กต้องกินวันละกี่ขวดถึงจะเพียงพอ เดือนนี้ก็เลยพาท่านผู้อ่านไปอ่านฉลากผลิตภัณฑ์ชนิดนี้กัน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 173 | เดือน/ปี: 09/2536
อาการปวดของเด็กกำลังโต อย่าตกใจ!“น้องเจี๊ยบ” อายุประมาณ 7-8 ขวบเห็นจะได้ สุขภาพแข็งแรงดีทุกอย่าง เป็นลูกสาวคนเดียวขอลคุณพ่อคุณแม่ ฐานะของพ่อแม่ห็พอมีอันจะกิน แต่ที่พามาหาคุณหมอวันนี้ก็ด้วยอาการสำคัญว่า น้องเจี๊ยบบ่นปวดบริเวณเข่าและน่องตอนดึกๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 173 | เดือน/ปี: 09/2536
ตรวจร่างกาย ก่อนแต่งงานการแต่งงานหรือการมีชีวิตคู่นั้นเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนและสำคัญต่อชีวิตของคู่หญิง-ชายมากนัก เนื่องเพราะก่อนแต่งงานต่างฝ่ายต่างเคยใช้ชีวิตตามวิถีที่ตนพอใจมาโดยตลอด แต่ครั้นเมื่อต้องมาใช้ชีวิตคู่ ความแตกต่างในชาติกำเนิด เศรษฐกิจ วัฒนธรรมของแต่ละครอบครัว ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 172 | เดือน/ปี: 08/2536
ลูกคนกับนมแม่ลูกกวางน้อยพอหลุดออกจากท้องแม่ ก็พยายามลุกขึ้นยืนโดยเร็วที่สุดด้วยพละกำลังของตนเอง เมื่อลุกขึ้นยืนเก้งก้างได้สำเร็จ สิ่งแรกที่ลูกกวางทำ ก็คือ ควานหานมแม่เพื่อดูด แม่กวางยืนนิ่งให้ลูกดูดนม และเลียลูกน้อยด้วยความรักความผูกพันตามธรรมชาติประสาแม่ลูก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 172 | เดือน/ปี: 08/2536
การอยู่ไฟหลังคลอดคำว่า “อยู่ไฟ” นี้ดูเหมือนจะเป็นคำที่รู้จักคุ้นเคยกันดีในหมู่ผู้ที่เป็นแม่สูงวัยทั้งหลาย แต่อาจจะเป็นเรื่องล้าสมัยหรือคร่ำครึในทัศนะของคนหนุ่มสาว หรือแม้กระทั่งในหมู่บุคลากรสาธารณสุขการอยู่ไฟ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 171 | เดือน/ปี: 07/2536
การตั้งครรภ์กับฟันผุก่อนที่จะถึงเดือนแห่งวันแม่ คือ เดือนสิงหาคม เราน่าจะมาคุยเรื่องก่อนที่จะเป็นแม่ คือ ภาวะการตั้งครรภ์กันดีกว่า บรรดาคุณผู้ชายก็อ่านได้นะคะ อย่างน้อยก็เก็บไว้เป็นความรู้รอบตัวเผื่อจะมีใครมาปรึกษา เป็นที่พูดกันมานานแล้วว่า ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ลูก 1 คน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 170 | เดือน/ปี: 06/2536
สิทธิการลาคลอด 90 วัน ขณะนี้ปัญหาเกี่ยวกับแรงงานหญิงที่ทุกคนให้ความสนใจเป็นพิเศษ ก็คือ เรื่องสิทธิการลาคลอด 90 วัน ซึ่งแต่เดิมนั้นลาได้ 30 วัน และได้รับค่าจ้างครบตามจำนวน แต่ทางรัฐวิสาหกิจเดิมมีสิทธิลาคลอดได้ถึง 60 วัน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 170 | เดือน/ปี: 06/2536
ฝึกเด็กอย่างไรให้ได้ดังใจ คนเป็นพ่อเป็นแม่ต่างอยากให้ลูกมีพัฒนาการเทียบเท่าหรือเหนือกว่าเด็กอื่นๆ จึงพยายามที่จะฝึกลูกเพื่อให้เป็นคนเก่ง การฝึกเด็กให้ใช้ความสามารถเท่าที่มีอยู่ได้เต็มที่นั้น ต้องกระตุ้นและจูงในให้เด็กเกิดความพยายามและสนุกสนานกับการฝึกหัด จึงจะได้ผลเร็ว1. ความพร้อม ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 170 | เดือน/ปี: 06/2536
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ช่วยคุมกำเนิดไปในตัว เคยมีผู้ถามอยู่บ่อยๆ ว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะทำให้มีลูกห่างถี่ได้แค่ไหน อย่างที่ทราบกันอยู่แล้วว่า การหลั่งน้ำนมในคนช่วยให้หญิงเหล่านั้นป้องกันการมีครรภ์ได้ถึง 6 เดือนหลังคลอด ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 170 | เดือน/ปี: 06/2536
ปฏิสนธิชีวิตใหม่ การเจริญเติบโตของตัวอ่อน หลายสิ่งหลายอย่างที่เกิดขึ้นในโลก บางครั้งผลของมันที่ออกมาก็ดูเหมือนง่ายดาย แต่แท้จริงแล้วกระบวนการเกิดของมันซับซ้อนยุ่งยาก เช่นเดียวกับกลไกการเกิดมนุษย์ที่ได้เคยกล่าวไว้บ้างแล้วในตอนก่อนๆ ท่านผู้อ่านบางท่านอาจจะนึกสงสัยอยู่ครามควัน เอ๊! ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 170 | เดือน/ปี: 06/2536
ดื้อเงียบครั้งนี้หมอจะขอยกเอาเหตุการณ์จริงที่เพิ่งประสบมากับตัวเอง มาสาธกให้พิจารณากัน เป็นเรื่องของเด็กชายคนหนึ่งอาจจะคล้ายกับเด็กที่ท่านเคยรู้จักหรือกำลังอยู่ในปกครองของท่าน อาจจะเป็นลูกเป็นหลานของท่าน หรือเป็นศิษย์น้อยๆ แม้เรื่องนี้จะไม่มีความน่าตื่นเต้นมากมายอะไร ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 169 | เดือน/ปี: 05/2536
ปฏิสนธิชีวิตใหม่ การเจริญเติบโตของตัวอ่อน (ต่อ) 8 วันนี่ก็ปาเข้าไปตั้งวันที่ 8 ของการเกิดปฏิสนธิแล้ว อะไรๆ ในมดลูกก็เปลี่ยนแปลงไปมากโขทีเดียว ถึงตอนนี้ตัวอ่อนบลาสโตซิสต์ (Blastocyst) หาที่ซุกตัวเพื่อรอการเจริญเติบโตต่อไปได้แล้ว ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 169 | เดือน/ปี: 05/2536
โฆษณาขนมกับเด็กทุกวันนี้โทรทัศน์ดูจะเป็นของใช้ประจำบ้านที่พบได้แทบทุกครอบครัว อาจเป็นเพราะว่าราคาของโทรทัศน์ไม่แพงนัก และเศรษฐฐานะของคนไทยดีขึ้น ดังนั้น โทรทัศน์จึงเป็นของสัญของบ้านที่ไม่ควรมองข้ามไปเลยที่เดียว โทรทัศน์ให้ทั้งข่าวสารและความบันเทิง ทั้งยังเป็นจุดรวมของครอบครัวไปด้วย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 169 | เดือน/ปี: 05/2536
เรียนพิเศษ“เรื่องอยุติธรรมเช่นนี้ทุกคนพากันยอมรับว่าเป็นเรื่องธรรมดาของสังคมไทย มีแต่คนโวยวายถึงความหนักหนาสาหัสในการฝากเด็กเข้าเรียน แต่ไม่ยักมีคนคิดแก้ไขสักที”“เราลูกไปเรียนพิเศษด้วยนะ” คือ คำสั่งเสียครั้งสุดท้ายของกัปตันเครื่องบินพระที่นั่ง “โบอิ้ง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 168 | เดือน/ปี: 04/2536
ปฏิสนธิชีวิตใหม่ (ตอนที่ 4)การเจริญเติบโตของตัวอ่อน (ต่อ)2 วันภายหลังจากที่อสุจิได้เข้าผสมกับไข่ และเซลล์ได้เริ่มมีการแบ่งตัวแบบทวีคูณ เมื่อเวลาแห่งการปฏิสนธิได้ก้าวล่วงเข้าสู่วันที่ 2 ไข่ได้แบ่งตัวออกถึง 8 เซลล์ (จากภาพที่เห็นเป็น 4 ฟอง) ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 168 | เดือน/ปี: 04/2536
ซื้อของเล่นให้เหมาะกับวัยของลูกการเล่นของเด็กนอกจากจะเป็นการเสริมสร้างพัฒนาการทั้งทางร่างกาย จิตใจ สมองของเด็ก แล้วยังสามารถส่งเสริมพัฒนาการด้านมนุษยสัมพันธ์ของเด็กด้วย หากผู้ใหญ่สามารถส่งเสริมการเล่นของเด็กให้สัมพันธ์กับพัฒนาการในวัยต่างๆ ของเด็ก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 167 | เดือน/ปี: 03/2536
ทำหมันชาย เสี่ยงภัยจากมะเร็งจริงหรือ?“ลูกมากจะยากจน” คำขวัญของคนยุคใหม่ ยุคที่จะต้องเบียดเสียดแย่งกันทำมาหากิน จนกระทั่งกลัวไปว่าลูกหลานที่กำลังเกิดขึ้นมาจะลำบากการทำหมันชายเป็นวิธีการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งสามารถหยุดการเกิดได้ผลดี วิธีการไม่ยุ่งยากอะไรมากนัก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 167 | เดือน/ปี: 03/2536
เลี้ยงลูกวัยรุ่นอย่างไรไม่ให้วุ่น “...โอ๊ย! นี่พวกเธอรู้มั้ย พ่อเอกลูกชายชั้นนี่แกร้ายขนาดไหน แกเห็นเพื่อนๆเขามีมอเตอร์ไซค์ ก็อยากจะมีกับเขาบ้าง มานั่งอ้อนวอนขอให้ชั้นซื้อให้ ไอ้เรารึก็เป็นห่วงกลัวว่าจะไปคว่ำไปหงายเกิดอุบัติเหตุต้องพิกลพิการเลยไม่ตกลง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 167 | เดือน/ปี: 03/2536
ปฏิสนธิชีวิตใหม่ (ตอนที่ 3) การเจริญเติบโตของตัวอ่อนการต่อสู้ของตัวอสุจินับล้านๆ ตัวเพื่อแย่งชิงความเป็นหนึ่งในฐานะผู้พิชิตไข่ได้สิ้นสุดลงไปแล้วเมื่อฉบับที่ผ่านมา ซึ่งนั่นก็เท่ากับว่าหน้าที่ของตัวอสุจิที่แข็งแรงที่สุดได้เสร็จสิ้นลงแล้วเช่นกัน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 167 | เดือน/ปี: 03/2536
คุยกับลูกเรื่องเอดส์การเดินทางไปประเทศญี่ปุ่นครั้งล่าสุดเมื่อเดือนธันวาคมที่ผ่านมานี้ มีข่าวซึ่งกระทบกระเทือนจิตใจอย่างรุนแรงในฐานะที่เป็นเลือดเนื้อไทยคนหนึ่งคือ ชาวญี่ปุ่นปัจจุบันนี้เห็นคนไทยกลายเป็น “ตัวเอดส์” ไปเสียแล้ว สมัยก่อนโน้นหากถามชาวญี่ปุ่นว่า ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 166 | เดือน/ปี: 02/2536
ปฏิสนธิชีวิตใหม่ (ตอนที่ 2) การเดินทางของอสุจิเมื่อครั้งที่หนุ่ม (สาว) น้อย หนุ่ม (สาว) ใหญ่ในเวลาที่เป็นเด็กเล็กๆ และด้วยอยู่ในวัยอยากรู้อยากเห็น หลายคนอาจจะยังคงจำได้ว่าตนเองเคยมีคำถามซุกซนมาทำให้คุณพ่อคุณแม่ลำบากใจที่จะตอบเสมอ เป็นต้นว่า“พ่อฮับ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 165 | เดือน/ปี: 01/2536
ปฏิสนธิชีวิตใหม่ในโอกาสขึ้นปีใหม่นี้ ก็อยากจะขอเริ่มต้นปีด้วยเรื่องราวของความ “ใหม่” ดังที่จั่วหัวข้อไว้ จากที่เคยเสนอแต่เฉพาะเรื่องการทำงานของอวัยวะส่วนต่างๆ ในร่างกาย แต่คราวนี้ลองมองย้อนกลับมาดูกันสิคะว่า กว่าที่อวัยวะเหล่านั้นจะมีโอกาสได้ทำหน้าที่ของมันอย่างเต็มศักยภาพ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 165 | เดือน/ปี: 01/2536
ฟังเสียงลูกเวลาแต่ละปีผ่านไปอย่างรวดเร็วเหลือเกิน สมัยยังเป็นเด็ก บางครั้งเรามีความรู้สึกว่าเวลาแต่ละวันแต่ละเดือนช่างผ่านไปอย่างเชื่องช้า อยากโตเร็วๆ อยากเรียนจบเร็วๆ มาบัดนี้ เมื่อเข้าสู่วัยกลางคนความรู้สึกนั้นกลับตรงกันข้าม ยิ่งมองเห็นลูกหลานโตขึ้นเป็นหนุ่มเป็นสาว ทั้งๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 164 | เดือน/ปี: 12/2535
ความเข้าใจผิดของสตรีมีครรภ์และหลังคลอด1. การฝากครรภ์ควรมาฝากเมื่อตั้งครรภ์ได้ 4-5 เดือน หรือเมื่อรู้สึกว่าเด็กดิ้นที่ถูกต้องคือ การฝากครรภ์นั้นควรทำให้เร็วที่สุดเมื่อแน่ใจว่าตั้งครรภ์แล้ว เพื่อแพทย์จะได้ตรวจสุขภาพว่ามีโรคแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายจากการตั้งครรภ์ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 164 | เดือน/ปี: 12/2535
เลี้ยงลูกพิการ“เอ... ทำไมเราไม่เคยนึกถึงคนพิการเลย”ดิฉันถามตัวเองเมื่อมีโอกาสร่วมทำสารคดีข่าวเรื่องคนพิการกับนักข่าวชาวญี่ปุ่น ดิฉันมั่นใจว่าคนไทยส่วนใหญ่ก็ไม่ได้คิดถึงคนพิการมากนัก นอกจากคนที่มีญาติพี่น้องเป็นคนพิการ หรือคนที่ทำงานเกี่ยวข้องกับคนพิการโดยตรง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 164 | เดือน/ปี: 12/2535
นิ้วลูก-ใจแม่เด็กชายอายุ 3 ขวบ ถูกแม่กัดนิ้วเกือบขาด! แม่ของเด็กเป็นโรคลมชัก เช้าวันเกิดเหตุประมาณตี 5 ในขณะที่พ่อแม่ลูกทั้ง 3 คนนอนหลับอยู่ แม่เกิดชักขึ้นมาโดยไม่รู้เนื้อรู้ตัว และกัดนิ้วก้อยของลูกที่นอนอยู่เคียงข้างอย่างแรง กว่าพ่อจะงัดปากแม่ดึงนิ้วลูกออกมาได้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 164 | เดือน/ปี: 12/2535
เด็กดาวน์ซินโดรมผู้ถาม กาญจนา/ราชบุรีตอนตั้งครรภ์ดิฉันก็มีอาการปกติดีทุกอย่าง แต่แพ้ท้อง กินอะไรไม่ได้ พอลูกอายุได้ 4 ขวบ ก็ส่งให้เรียนหนังสือ จึงทราบว่าลูกทำอะไรไม่ได้ดิฉันมีอาชีพรับราชการเป็นครูอยู่ที่โรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดราชบุรี เพื่อนครูที่โรงเรียนเป็นสมาชิกหนังสือหมอชาวบ้าน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 161 | เดือน/ปี: 10/2535
การตรวจรักษาอาการ “หลับไม่ปกติ” (ตอนที่ 14)คุณพ่อคุณแม่หลายคนคงจะรู้สึกหัวเสียเมื่อตื่นขึ้นมา พบว่า เช้านี้ลูกน้อยทำที่นอนเปียกอีกแล้ว เพราะนั่นหมายถึงงานทำความสะอาดที่สร้างภาระให้แก่คุณเพิ่มขึ้นในวันทำงานอันแสนจะวุ่นวายอยู่แล้ว ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 162 | เดือน/ปี: 10/2535
ฉลากนมผงดัดแปลงสำหรับทารกวันนี้ครึ้มอกครึ้มใจก็เลยชวนเพื่อนที่เป็นพยาบาลผู้ป่วยเด็กมาเดินซูเปอร์มาร์เก็ต เพื่อหาฉลากที่น่าสนใจมาเล่าให้ท่านผู้อ่านตามที่สัญญาไว้ตั้งแต่ครั้งที่แล้ว เมื่อเดินมาถึงส่วนที่จัดวางขายนมผงดัดแปลงสำหรับทารก พบว่า มีหลายยี่ห้อด้วยกัน เอ๊ะ! ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 132 | เดือน/ปี: 04/2533
มหันตภัยแห่งยุคทุกชีวิตเต็มไปด้วยความหวังที่จะก้าวไปข้างหน้าอย่างมุ่งมั่น แต่ละชีวิตต้องการได้รับแต่สิ่งที่ดี ทว่าปัจจุบันนี้ความหวังของมวลมนุษย์ดูจะเลือนรางเต็มที สาเหตุเนื่องมาจากในปัจจุบันโลกมนุษย์กำลังได้รับภัยคุกคามจากโรคชนิดหนึ่ง โรคที่ผู้คนหวาดกลัว ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 132 | เดือน/ปี: 04/2533
ปัญหาโรคเลือดจางในหญิงมีครรภ์สาเหตุการตายของมารดาและทารก สามารถป้องกันและแก้ไขได้ ถ้ามารดาให้ความสนใจและมาฝากครรภ์กับเจ้าหน้าที่ตามสถานบริการสาธารณสุขนายมารุต บุนนาค รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขชี้แจงว่า งานพัฒนาคนเป็นสิ่งที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ คือ งานอนามัยแม่และเด็ก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 132 | เดือน/ปี: 04/2533
การแท้งการแท้งคืออะไรทำไมจึงแท้งแท้งแล้วมีอันตรายหรือไม่ถ้ามีการแท้งเกิดขึ้นจะทำอย่างไรการแท้ง เป็นการสิ้นสุดของการตั้งครรภ์ก่อนระยะเวลาที่ครรภ์จะครบกำหนด ทางการแพทย์ส่วนใหญ่ถือว่า การแท้งเป็นการสิ้นสุดของการตั้งครรภ์ก่อนที่อายุครรภ์ครบ 28 สัปดาห์ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 132 | เดือน/ปี: 04/2533
ของเล่นระยะนี้ผมกำลังซ่อมแซมบ้าน จึงมีกองทรายกองอยู่ที่สนาม ตกเย็นเมื่อกลับจากโรงเรียน ลูกทั้งสองจะต้องเข้าไปเล่นที่กองทราย โดยมีลูกๆ ของเพื่อนบ้านมาร่วมเล่นด้วยเด็กๆ เขาจะก่อทรายเป็นรูปต่างๆ และย่ำกองทรายขึ้นลงไม่รู้เบื่อ เนื้อตัวเต็มไปด้วยเม็ดทราย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 132 | เดือน/ปี: 04/2533
เด็กห้าขวบถึงหกขวบสภาพแวดล้อม383. เมื่อเด็กประสบอุบัติเหตุเด็กอายุ 5-6 ขวบ กำลังอยู่ในวัยซน ขอบเขตการเล่นก็กว้างขวางและรุนแรงมากขึ้น เวลาเกิดอุบัติเหตุจึงเจ็บมากขึ้นเด็กวัยอนุบาลมักเกิดอุบัติเหตุตกจากชิงช้า เพราะริอ่านกระโดดลงขณะชิงช้ากำลังแกว่ง เมื่อเกิดพลาดตกลงมา ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 132 | เดือน/ปี: 04/2533
นกกระสาขาเดียว“วันนี้พี่เอื้อจะเล่านิทานให้ฟังเอามั้ยคะ”“เอาครับ แตมชอบฟังนิทาน”“เอาเรื่องกระต่ายกับเต่านะ” น้องภีมร์บอก“ลองเรื่องนกกระสากับหมาจิ้งจอกบ้าง ตกลงมั้ยคะ”“ตกลงครับ”พี่เอื้อยกรูปให้เด็กดูแล้วถามว่า ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 131 | เดือน/ปี: 03/2533
หัดกับวัคซีนป้องกันโรคในช่วงเดือนสองเดือนที่ผ่านมา พบว่ามีการระบาดของโรคหัดและอีสุกอีใสในหมู่เด็กๆ รวมทั้งผู้ใหญ่บางคนก็พลอยฟ้าพลอยฝนไปด้วย เป็นที่น่าสังเกตว่า ไข้ออกผื่นเหล่านี้มักจะระบาดในช่วงต่อระหว่างหน้าหนาวกับหน้าร้อน (ธันวาคมถึงมีนาคม) ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 131 | เดือน/ปี: 03/2533
นมแม่...หายไปไหนมาร่วมกันรณรงค์เอานมแม่กลับคืนมาให้เด็กๆ กันเถอะเมื่อวันที่ 29-30 มกราคม ที่ผ่านมา แพทย์ พยาบาล และผู้ที่อยู่ในแวดวงของการดูแลรักษาสุขภาพเกือบ 200 คน ได้มาชุมนุมกันที่ห้องประชุมชั้น 5 องค์การเภสัชกรรม ในการสัมมนาเรื่อง “นมแม่...หายไปไหน” ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 131 | เดือน/ปี: 03/2533
การตั้งครรภ์เกี่ยวข้องกับประจำเดือนอย่างไรถ้าตั้งครรภ์จะปฏิบัติตนเช่นไรการตั้งครรภ์หรือการมีครรภ์ หรือหลายคนอาจเรียกว่า “มีท้อง” เกิดจากการที่ไข่ของฝ่ายหญิงได้ผสมกับเชื้ออสุจิของฝ่ายชาย แล้วมีการฝังตัวลงในเยื่อบุที่โพรงมดลูกเพื่อเจริญเติบโตต่อไป จนครบระยะเวลาประมาณ 280+/-7 ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 131 | เดือน/ปี: 03/2533
แย่งแม่บางครั้งพ่อแม่ก็ระอากับลูกๆ ที่ชอบแย่งของกัน ไม่ว่าจะเป็นของเล่น ของใช้ ของกิน หรือแม้แต่ตัวพ่อแม่ ลูกแก้วและลูกขวัญก็เหมือนกัน ของเล่นมีเต็มบ้าน พอจะเล่น ก็จะแย่งกันเล่นของชิ้นเดียวกัน พอคนหนึ่งเปลี่ยนไปเล่นชิ้นใหม่อีกคนก็เปลี่ยนตาม คุณพ่อคุณแม่มักจะให้พี่แก้วยอมน้อง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 131 | เดือน/ปี: 03/2533
เด็กห้าขวบถึงหกขวบ382. การเลือกโรงเรียนประถมสภาพการแข่งขันเพื่อให้เด็กได้เข้าโรงเรียนดีมีชื่อเสียงในเมืองไทยชักจะใกล้เคียงกับสถานการณ์ในประเทศญี่ปุ่นเข้าไปทุกที จุดเริ่มต้นอยู่ที่การแข่งขันกันสอบเข้ามหาวิทยาลัยดัง ซึ่งชาวญี่ปุ่นเรียกว่า “สงครามสอบเข้า” ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 131 | เดือน/ปี: 03/2533
โรคแม่ทำลูกดิฉันเป็นหวัดมีน้ำมูกไหล ไอ ตัวร้อน เป็นไข้ เป็นๆ หายๆ ประมาณ 2-3 สัปดาห์ก็จะเริ่มเป็นใหม่ อยากทราบว่าลูกของดิฉันเป็นหวัดสมัยใหม่ หรือหวัดธรรมดา จะรักษาอย่างไรผู้ถาม สุนิสา/เพชรบูรณ์ผู้ตอบ นพ.สมอาจ วงษ์ขมทองถามดิฉันมีปัญหาจะเรียนถามเกี่ยวกับโรคหวัดของเด็กเล็ก อายุตั้งแต่ 0-5 ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 131 | เดือน/ปี: 03/2533
ไก่โต้งเสียงดังวันนี้พี่เอื้อพบศึกหนัก ต้องต่อสู้กับเจ้าตัวยุ่งตัวน้อยแต่ร้ายกาจเหลือหลาย เจ้ายุ่งอายุหนึ่งปีครึ่งเป็นลูกคนเล็กของพ่อแม่เจ้าของร้านอาหารใหญ่บนเกาะแห่งหนึ่ง พ่อแม่มัวแต่ยุ่งอยู่กับกิจการร้านอาหารตั้งแต่สายจนดึก ขณะเดียวกันก็ห่วงลูกมาก จึงเอาน้องยุ่งมาไว้ใกล้ๆ เสมอ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 130 | เดือน/ปี: 02/2533
นมแม่...ไม่เพียงแต่ประหยัดพอพูดถึง “นมแม่” บางท่านก็อาจรู้สึกว่าพูดไปก็เท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คุณแม่ที่ต้องทำงานนอกบ้าน จะรู้สึกยุ่งยากและไม่คุ้มกับเวลาที่ต้องเสียไปในการให้นมลูก บางท่านอาจรู้สึกว่า ยอมเสียเงินซื้อนมผงให้ลูกกินสะดวกสบายกว่ากันแยะเลย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 130 | เดือน/ปี: 02/2533
นมแม่...หายไปไหนความรักระหว่างแม่กับลูกนั้นเป็นตำนานความรักอันยิ่งใหญ่มาเนิ่นนาน ลูกเปรียบปานแก้วตาดวงใจของแม่ ซึ่งจะได้รับการทะนุถนอมเป็นพิเศษ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็กเล็กเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่ง 3-4 ขวบเป็นวัยที่สำคัญมาก เพราะเป็นช่วงที่อายุสมองกำลังงอกงามและเกิดรากฐานทางจิตใจ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 130 | เดือน/ปี: 02/2533
นมแม่เต้านม นอกจากจะเป็นเครื่องแสดงความเป็นสตรีเพศที่เห็นได้เด่นชัดที่สุดอย่างหนึ่งแล้ว ธรรมชาติยังได้สร้างกลไกภายใต้เต้านมเพื่อทำหน้าที่ผลิตน้ำนมมาใช้เลี้ยงทารกอีกด้วย ซึ่งประโยชน์ประการหลังนี้แท้จริงแล้วดูจะสำคัญกว่าประการแรกมากนัก จะเห็นได้ว่า ตัวอ่อน (ทารก) ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 130 | เดือน/ปี: 02/2533
เด็กห้าขวบถึงหกขวบการเลี้ยงดู379. เด็กอ่อนแอหมอเด็กที่ดีจะไม่พูดว่า “เด็กคนนี้อ่อนแอ” เช่นเดียวกับครูที่ดีจะไม่กล่าวว่า “เด็กคนนี้โง่” เป็นอันขาด พ่อแม่ หมอ และครู ควรเป็นผู้ให้กำลังใจเด็ก ไม่ตีตราปรามาสด้วยคำพูดที่ทำให้เด็กสะเทือนใจ เด็กตัวเล็ก กินน้อย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 130 | เดือน/ปี: 02/2533
ปอกมะม่วงเมื่อผมโผล่เข้าไปในครัว ลูกแก้วกำลังใช้มีดปอกมะม่วง มือขวากำด้ามมีดแน่น แต่ใบมีดก็พลิกแฉลบไปมา จนดูน่าหวาดเสียวว่าจะบาดมือซ้ายที่ถือมะม่วงผลเขื่องในวินาทีใดวินาทีหนึ่งข้างหน้า ผมจึงเข้าไปห้ามและปอกมะม่วงผลนั้นแทน ..
.
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 130 | เดือน/ปี: 02/2533
ฉันเป็นลิง วิ่งหากล้วยท่าลิง (The Monkey)น้องตืออ้วนจ้ำม่ำสมชื่อ แถมซนด้วย ชอบรื้อค้นสิ่งต่างๆ อยู่เสมอ ทั้งๆ ที่เพิ่งจะผ่านวันเกิดปีแรกมาไม่กี่วันนี่เอง ตั้งแต่กระเป๋า กระป๋อง กล่อง ลิ้นชัก ตู้ น้องตือจะไม่ปล่อยให้ผ่านไป จะต้องเปิดออกพิสูจน์ว่าในนั้นมีอะไร และไม่เคยพลาด ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 129 | เดือน/ปี: 01/2533
ประจำเดือน (เลือดระดู)ประจำเดือนคืออะไรประจำเดือนมาจากไหนทำไมจึงปวดประจำเดือน จะแก้ไขอย่างไรควรปฏิบัติตัวอย่างไรเวลามีประจำเดือนประจำเดือน คือ เลือดปกติที่ออกจากโพรงมดลูก เนื่องจากมีการลอกหลุดของเยื่อบุมดลูกตามธรรมชาติ ตลอดระยะเวลาที่รังไข่มีความเจริญและมีไข่สุก คือ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 129 | เดือน/ปี: 01/2533
เด็กห้าขวบถึงหกขวบการเลี้ยงดู377. เด็กอยู่ไม่สุขเด็กบางคนเป็นเด็กอยู่ไม่สุข ส่วนใหญ่เป็นเด็กผู้ชายซึ่งไม่สามารถนั่งเล่นเงียบๆ อยู่ได้ ไม่ชอบอดทนรออะไรนานๆ เดี๋ยวก็เล่นโน่น เดี๋ยวก็เล่นนี่ เปลี่ยนใจง่าย แต่ถ้าได้ทำอะไรที่ชอบ จะมุ่งทำอยู่แต่สิ่งนั้นได้นานมาก ไม่ยอมเลิกง่ายๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 129 | เดือน/ปี: 01/2533
ไม่ไปโรงเรียนลูกผมทั้ง 2 คนเข้าโรงเรียนอนุบาลตั้งแต่อายุไม่เต็ม 3 ขวบ ไม่ใช่ว่าลูกแก้วและลูกขวัญฉลาดกว่าเด็กอื่น หรือผมอยากให้ลูกเก่ง แต่เพราะขาดคนเลี้ยงดูลูก ก็เลยเอาลูกไปฝากครูที่โรงเรียนเลี้ยงสิ่งหนึ่งที่เหมือนกันสำหรับลูกทั้ง 2 คน คือ ไม่ยอมไปโรงเรียน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 129 | เดือน/ปี: 01/2533
ฉันเป็นกระต่าย กายสีขาววันนี้พี่เอื้อเตรียมกิจกรรมไว้ 2 อย่าง คือ ระบายสี และปั้นดินน้ำมัน เด็กๆ ชอบมากเขาปั้นดินน้ำมันเป็นแท่งยาวว่าเป็นงู บ้างเอามาพันรอบข้อมือเป็นกำไล บางคนเอามาใส่เป็นสร้อยคอ พี่เอื้อปั้นดินน้ำมันเป็นลูกกลมขนาดไม่เท่ากันสองลูก เอาลูกเล็กวางบนลูกใหญ่ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 128 | เดือน/ปี: 12/2532
หลักการให้นมผสมการเลี้ยงเด็กอ่อนและทารกด้วยนมผสมมีหลักเกณฑ์เหมือนกับการเลี้ยงด้วยน้ำนมแม่ คือ1. ผู้ให้นมอยู่ในท่าที่สบาย กอดอุ้มให้ก้นทารกอยู่บนตัก ลำตัวแนบชิดกับอก เพื่อให้ทารกได้รับการสัมผัสและความอบอุ่น2. ถือขวดนมให้เกือบตั้งตรง ไม่ให้มีอากาศในขวดนมที่ทารกจะดูดเข้าไป ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 128 | เดือน/ปี: 12/2532
คุณแม่มีน้องใหม่เมื่อลูกแก้วอายุขวบกว่า คุณแม่ก็เริ่มตั้งท้องอีกสิ่งหนึ่งที่เราวิตก คือ ลูกแก้วจะอิจฉาน้องหรือไม่ เรื่องเด็กอิจฉาน้องเราได้ยินได้ฟังตลอดจนได้เห็นตัวอย่างมามากต่อมากญาติผมคนหนึ่งเมื่อคลอดลูกคนที่ 2 ก็ให้นอนบนเบาะของลูกคนแรก พอทีเผลอลูกคนโตก็มาดึงเบาะคืน ผลหรือครับ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 128 | เดือน/ปี: 12/2532
เด็กห้าขวบถึงหกขวบการเลี้ยงดู375. การนอนตอนกลางคืนรูปแบบการนอนของเด็กแต่ละคนไม่เหมือนกัน บางคนหัวถึงหมอนก็นอนหลับภายในเวลาไม่กี่นาที บางคนต้องมีช่วงเวลา “เตรียมนอน” ประมาณครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมงกว่าจะหลับสนิท เด็กหลับง่ายมักไม่มีปัญหา แต่เด็กที่ต้องเตรียมนอนนานๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 128 | เดือน/ปี: 12/2532
กบน้อยคอยหาเพื่อนบ่ายวันที่ฟ้าใส ลมเย็น แดดไม่จัดนัก พี่เอื้อชวนเด็กๆ ไปเดินเล่นที่ทุ่งหญ้าข้างบ้าน เด็กๆ พากันวิ่งเหยาะๆ ไปตามทาง จนถึงสระที่มีน้ำเต็มเปี่ยม แต่งแต้มด้วยบัวหลากสีสลับใบเขียว แมลงปอปีกบางบินว่อนเหนือผิวน้ำที่เป็นละลอกน้อยๆ ยามลมพลิ้วผ่าน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 128 | เดือน/ปี: 12/2532
ปัญหาลูกไม่กินข้าวท่านผู้อ่านที่กำลังเป็นพ่อหรือแม่คงจะยอมรับว่า “ปัญหาลูกไม่กินข้าว” คือ ปัญหาสำคัญสำหรับเด็กวัยตั้งแต่ขวบกว่า ไปจนถึง 3-4 ขวบ หรือช่วงวัยก่อนเข้าโรงเรียน (เด็กทารกต่ำกว่า 1 ขวบ) ไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องกินมากนัก ด้วยเป็นวัยที่ไร้เดียงสา ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 128 | เดือน/ปี: 12/2532
เด็กผอมดิฉันพาลูก 2 คนไปหาหมอประจำครอบครัว หมอบอกว่า เด็กผอมแต่แข็งแรง ไม่เป็นอะไร เพื่อนของลูกคนเล็กแนะนำให้กินวิตามิน แต่ดิฉันไม่ให้กินเพราะว่าดื่มนมสดประจำ ลูกดิฉันควรกินวิตามินหรือไม่ผู้ถาม พันธ์ทิพย์/ราชบุรีผู้ตอบ พญ.จุฬาภรณ์ รุ่งพิสุทธิพงษ์ถามดิฉันมีลูกสาว 2 คน คนโตอายุ 21 ปี สูง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 127 | เดือน/ปี: 11/2532
กาแฟ ชา กับการมีลูก คุณจะเลือกอะไรจากการศึกษาผู้หญิงที่หวังจะตั้งครรภ์จำนวน 104 คน เป็นเวลา 3 เดือน พบว่าในกลุ่มที่ดื่มกาแฟมากกว่าวันละ 1 ถ้วย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 127 | เดือน/ปี: 11/2532
การเตรียมพร้อมในสงครามต้านเอดส์ในระยะนี้ใครๆ ก็พูดถึงการต่อสู้และการทำสงครามกับโรคเอดส์กัน ทั้งนี้คงเนื่องมาจากโรคนี้เป็นโรคแห่งความตายที่ยังไม่มียารักษาและมีการขยายตัวอย่างรวดเร็วในระยะที่ผ่านมา ไหนๆ ก็ต้องต่อสู้หรือทำสงครามกับโรคเอดส์แล้ว ก็หวังที่จะได้ชัยชนะ และการจะได้มาซึ่งชัยชนะ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 127 | เดือน/ปี: 11/2532
เด็กห้าขวบถึงหกขวบการเลี้ยงดู373. อาหารของเด็กวัย 5-6 ขวบเด็กวัย 5-6 ขวบกินอาหารไม่มากเท่าปริมาณที่แม่อยากให้กิน ตอนเช้า เด็กก็นอนตื่นสาย ไปโรงเรียนยังไม่ค่อยจะทันจึงไม่ค่อยมีเวลากินอาหารเช้าตามสบาย อาหารกลางวันเด็กกินที่โรงเรียน กินได้มากหรือน้อย พ่อแม่ก็ไม่ค่อยทราบ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 127 | เดือน/ปี: 11/2532
สิงโตเจ้าป่าวันอาทิตย์นี้เด็กๆ อยากไปเที่ยวเขาดิน พี่เอื้อและพี่อั๋นจึงพาน้องไปดูสัตว์นานาชนิดที่นั่น เด็กๆ สนุกสนานเริงร่าและเบิกบานสำราญใจไม่น้อย ชวนกันเดินลัดเลาะไปตามทางเท้าที่ร่มรื่นด้วยเงาของต้นไม้ใหญ่น้อยนานาพันธุ์ สายลมพัดเอื่อยๆ รู้สึกสบายเมื่อยามต้องกาย ที่กรงยีราฟ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 126 | เดือน/ปี: 10/2532
มาสอนลูกน้อยให้ว่ายน้ำหลายท่านคงอดนึกเอ็นดูไม่ได้กับโฆษณาชุดหนึ่งที่สื่อให้เห็นเด็กน้อยอายุประมาณ 6 เดือนกำลังแหวกว่ายอยู่ในสระน้ำอย่างร่าเริง หลายคนคงสงสัยว่าจะเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด แต่ภาพที่เห็นนี้ไม่เกินเลยจากความเป็นจริง จากการได้สัมภาษณ์นาวาเอกนายแพทย์สุริยา ณ นคร ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 126 | เดือน/ปี: 10/2532
อาหารทารก (ตอนที่ 2)ตารางที่ 1 ชนิดอาหารเสริมที่ทารกแต่ละวัยควรได้รับอาหารชนิดอาหาร 1-3 เดือน 4 เดือน 5 เดือน 6 เดือน 7-8 เดือน 9 เดือน 10-12 เดือน น้ำนมแม่กล้วยน้ำว้าสุกครูดเอาแต่เนื้อๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 126 | เดือน/ปี: 10/2532
เด็กห้าขวบถึงหกขวบลักษณะของเด็ก372. ลักษณะของเด็กวัย 5-6 ขวบเด็กวัยนี้ส่วนใหญ่อยู่โรงเรียนอนุบาลหรือศูนย์เด็ก เพื่อเตรียมตัวเข้าโรงเรียนประถมเมื่ออายุครบเกณฑ์ การเตรียมตัวเด็กช่วงนี้มิได้หมายถึง การหัดให้อ่านและเขียนหนังสือ หรือสอนนับเลข บวกเลข เป็นต้น ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 126 | เดือน/ปี: 10/2532
ลูกกินยายากลูกสาวผมกินยายาก มีวิธีใดบ้างที่จะช่วยให้กินยาง่ายขึ้นผู้ถาม ปัญจะ/ลำปางผู้ตอบ นพ.อำนาจ บาลีถามเด็กเล็กๆ อายุ 11-12 เดือนที่กินยายากนี้จะมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไรครับ คือ ลูกสาวผมเวลาเธอป่วยเป็นหวัดจะกินยายากมากเลย ต้องหลอกล่อ ต้องบังคับ ทำให้บางครั้งก็สำลักยาตอบน่าเห็นใจครับ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 126 | เดือน/ปี: 10/2532
ผีเสื้อแสนสวยเด็กๆ เพิ่งตื่นนอนหลังจากหลับยาวในตอนบ่ายประมาณสองชั่วโมง ทุกคนยิ้มแย้มแจ่มใส พากันเข้าห้องน้ำล้างหน้าล้างตาเหมือนอย่างเคยแล้วออกมาเล่นกันต่อ เด็กก่อนวัยเรียน การกินและนอนที่พอเพียงเป็นสิ่งสำคัญ ทำให้เขามีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง สดชื่นแจ่มใสน้องเอ๋ยวัยสองขวบเศษ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 125 | เดือน/ปี: 09/2532
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะยาวเด็กชนบทของบังกลาเทศ 4,612 คน อายุระหว่าง 18-36 เดือน พบว่า 1 ใน 3 ของเด็กที่ตายในอายุระหว่างนี้ไม่ได้ดื่มนมแม่ เป็นการศึกษาเด็กในกลุ่มที่มีการขาดอาหารมากเท่านั้น อย่างที่เรารู้ๆ กันอยู่แล้วว่า นมแม่มีประโยชน์มากสำหรับทารก เพราะนอกจากสารอาหารแล้ว ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 125 | เดือน/ปี: 09/2532
เด็กกินแอลกอฮอล์จากน้ำอบน้ำหอมไม่น่าเชื่อเลยว่า เด็กอายุต่ำกว่า 6 ขวบ ดื่มกินน้ำอบน้ำหอม ฝรั่งเรียกว่า โคโลญบ้าง เพอร์ฟูมบ้าง ที่บางหน่อยก็เป็นน้ำหอมทาหลังโกนหนวด...อาฟเตอร์เชฟ น้ำอบน้ำหอมต่างๆ ที่กล่าวแล้วนี้มีแอลกอฮอล์ชนิดเอธิล ตั้งแต่ 50-99 เปอร์เซ็นต์ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 125 | เดือน/ปี: 09/2532
ถ้าอยากมีลูกหัวดีจากหนังสือ KODOMO NO ATAMA O YOKUSURU SEIKATSU SHUKANเขียนโดย DR. YOSHIRO NAKAMATSUแปล/เรียบเรียง โดย พรอนงค์ นิยมค้าการออกกำลังกายคือกิจกรรมทางสมองทำไมต้องมีพัก 10 นาทีหากต้องการทำให้หัวดีขึ้น ควรฝึกพลังสมาธิ อย่างไรก็ดี แม้แต่มนุษย์ปัญญาเลิศก็ไม่สามารถมีสมาธิ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 125 | เดือน/ปี: 09/2532
เด็กสี่ขวบถึงห้าขวบสภาพผิดปกติ369. ชักมีเด็กจำนวนไม่น้อยที่เกิดอาการชักเมื่อมีไข้สูงเพราะเป็นหวัด ส่วนใหญ่อาการมักเริ่มในช่วงอายุ 1 ขวบ จนถึงอายุ 5 ขวบ คุณแม่ที่เห็นลูกชักครั้งแรกจะตกใจมาก แต่เมื่อเป็นบ่อยครั้งเข้าคุณแม่ก็รู้สึกชินไปเอง ไม่ตกใจเหมือนครั้งแรก การชักนานเพียง 5-6 ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 125 | เดือน/ปี: 09/2532
อาหารทารก (ตอนที่ 1)ทารก คือ เด็กอายุตั้งแต่ 1 เดือนถึง 1 ปี เป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตของร่างกายและสมองอย่างมากและรวดเร็ว จึงมีความต้องการอาหารที่มีคุณภาพ และปริมาณที่เพียงพอกับการเจริญเติบโตดังกล่าว อาหารสำคัญของเด็กวัยนี้ในระยะ 3 เดือนแรก คือ น้ำนมแม่ ถ้าแม่สุขภาพดี ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 125 | เดือน/ปี: 09/2532
โยคะสำหรับเด็กหมอเดินลงบันไดมาในชุดกางเกงขายาวและเสื้อคอกลมแขนสั้นที่ทำด้วยผ้ายืดสีเปลือกมังคุด น้องแตมเดินเข้ามาพร้อมทั้งถามขึ้นด้วยความแปลกใจว่า “ชุดอะไรน่ะ คุณหมอ” หมอยิ้มอย่างใจดี และทวนคำพูดของน้องแตมว่า ชุดอะไรครับ สองครั้ง น้องแตมจึงถามใหม่ว่า ชุดอะไรครับ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 124 | เดือน/ปี: 08/2532
อาหารเด็กอ่อนเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 1 เดือน เรียกว่า “เด็กอ่อน” อาหารที่สำคัญที่สุดของเด็กวัยนี้ คือ น้ำนมแม่น้ำนมแม่เป็นยอดอาหารของเด็กทุกคน เนื่องจากในน้ำนมแม่ “มีสารอาหารครบถ้วน” ที่สามารถทำหน้าที่ทั้ง 3 ประการ คือ ให้พลังงาน สร้างส่วนประกอบของร่างกาย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 124 | เดือน/ปี: 08/2532
ช่วยดูแลฟันน้ำนมเมื่อไม่นานมานี้ อ่านหนังสือของกระทรวงสาธารณสุขเล่มหนึ่ง ชื่อหนังสือเขียนไว้ว่า “การกำหนดเป้าหมายทางทันตสุขภาพของประเทศไทย เพื่อบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้า ปี 2543” เนื้อหากล่าวถึงแนวทางควบคุมโรคในช่องปากของคนไทยที่มีแนวโน้มสูงขึ้นให้คงที่หรือลดต่ำลง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 124 | เดือน/ปี: 08/2532
สนามเด็กเล่น...มองให้เห็นความสำคัญทุกวันนี้เราขาดแคลนสนามเด็กเล่น เด็กๆ จึงต้องวิ่งเล่นตามตรอกซอกซอย ริมฟุตปาธ และตามท้องถนน เมื่อโตขึ้นจึงต้องไปจับกลุ่มมั่วสุมตามสถานเริงรมย์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นโรงภาพยนตร์ ดิสโก้เธค หรือศูนย์การค้า ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 124 | เดือน/ปี: 08/2532
ถ้าอยากมีลูกหัวดีจากหนังสือ KODOMO NO ATAMA O YOKUSURU SEIKATSU SHUKANเขียนโดย DR. YOSHIRO NAKAMATSUแปล/เรียบเรียง โดย พรอนงค์ นิยมค้าการออกกำลังกายคือกิจกรรมทางสมองเครื่องบินจำลองช่วยบริหารสมองหัวคนเราจะดีได้ ร่างกายต้องแข็งแรงด้วย ผมคิดเช่นนี้เสมอ ถ้าเราเป็นหวัด มีไข้ สมาธิย่อมไม่ดี ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 124 | เดือน/ปี: 08/2532
เด็กสี่ขวบถึงห้าขวบสภาพผิดปกติ367. หืดมีเด็กจำนวนน้อยที่เพิ่งเริ่มมีอาการเป็นหืดในวัยนี้ ส่วนใหญ่เด็กมักมีเสมหะมากและหายใจฟืดฟาดบ่อยๆ มาตั้งแต่วัยทารก พออายุได้ 4 ขวบ เกิดหายใจผิดปกติตอนกลางคืน พาไปให้แพทย์ตรวจ แพทย์ก็บอกว่าเป็นหืด หากเด็กแสดงอาการเป็นหืดสัก 2-3 ครั้ง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 123 | เดือน/ปี: 07/2532
ความสำคัญของการสัมผัสในวัยเด็กนักวิทยาศาสตร์ แพทย์ และพยาบาลได้ตั้งข้อสังเกตมานานแล้วว่า การกอดรัดสัมผัสที่พ่อแม่หรือคนเลี้ยงดูให้แก่ทารกนั้น ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตทั้งกาย ใจ และสติปัญญาของเด็ก “จูบคุณคิดว่าไม่สำคัญ จูบเบาๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 123 | เดือน/ปี: 07/2532
หาความผิดปกติของยีนในตัวอ่อนโดยเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมศาสตร์ในปัจจุบันโรคทางพันธุกรรมที่ร้ายแรงมักพบในระยะหลังๆ ของการตั้งครรภ์ ทำให้แม่ลังเลใจว่าควรทำแท้งหรือไม่ ดังนั้น การตรวจหาความผิดปกติเสียก่อนนำไปใส่ในมดลูกจะช่วยเหลือคู่สมรสได้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 123 | เดือน/ปี: 07/2532
ถ้าอยากมีลูกหัวดีจากหนังสือ KODOMO NO ATAMA O YOKUSURU SEIKATSU SHUKANเขียนโดย DR. YOSHIRO NAKAMATSUแปล/เรียบเรียง โดย พรอนงค์ นิยมค้าการออกกำลังกายคือกิจกรรมทางสมองการเคลื่อนไหวร่างกายคือการพัฒนาสมองบางวันเราตื่นเช้าขึ้นมารู้สึกหัวตื้อ เรียนอะไรก็ไม่เข้าหัว ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 123 | เดือน/ปี: 07/2532
เด็กสี่ขวบถึงห้าขวบสภาพผิดปกติ365. เป็นไข้บ่อยเด็กที่เริ่มไปสถานเลี้ยงเด็กหรือโรงเรียนอนุบาลจะเป็นไข้บ่อย เรียกว่าเป็นแทบทุกเดือน และอาจจะหยุดเรียนเกือบครึ่งหนึ่งของเวลาที่ไปโรงเรียนทีเดียว ทั้งนี้เพราะสมัยที่เด็กอยู่บ้าน โอกาสที่จะพบโรคติดต่อมีน้อย เมื่อเข้าไปอยู่ในกลุ่มเด็กจำนวนมาก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 122 | เดือน/ปี: 06/2532
ครอบครัวมีปัญหาส่งผลต่อลูก แต่เด็กเองชนะได้กรรมพันธุ์เป็นปัจจัยสำคัญในการถ่ายทอดลักษณะต่างๆ จากพ่อแม่สู่ลูกหลาน ในขณะที่ความโศกเศร้าสิ้นหวังของพ่อแม่ก็สามารถทำลายพัฒนาการทางจิตใจของลูกหลานได้เช่นเดียวกันความซึมเศร้าสามารถถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกได้เช่นเดียวกับลักษณะเฉพาะอื่นๆ เช่น ตาสีดำ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 122 | เดือน/ปี: 06/2532
บาดเจ็บจากปืน – โรคระบาดชนิดใหม่ของเด็กเด็กที่ได้รับบาดเจ็บจากอาวุธปืน ไม่ได้เกิดเฉพาะแต่ตัวเด็กที่บาดเจ็บเท่านั้น แต่ยังทำความเดือดร้อนไปถึงครอบครัวและสังคม และหากเกิดความพิการขึ้นแล้ว ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 122 | เดือน/ปี: 06/2532
พฤติกรรมเด็กยามเปิดเรียนเมื่อโรงเรียนเปิด บ่อยครั้งที่คุณพ่อคุณแม่ต้องปวดเศียรเวียนเกล้ากับอาการไม่สบายของลูกรักซึ่งมีอาการออกมาทั้งร่างกายและจิตใจ บางคนบ่นปวดหัว บางคนบ่นปวดท้อง บางคนก็อาเจียนทุกเช้า สารพัดอาการ บางคนงอแง บางคนอารมณ์ฉุนเฉียว บางคนเงียบซึม ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 122 | เดือน/ปี: 06/2532
ถ้าอยากมีลูกหัวดีจากหนังสือ KODOMO NO ATAMA O YOKUSURU SEIKATSU SHUKANเขียนโดย DR. YOSHIRO NAKAMATSUแปล/เรียบเรียง โดย พรอนงค์ นิยมค้าบทที่ 3 ชีวิตความเป็นอยู่ (สภาพแวดล้อม) ที่กระตุ้นพัฒนาการทางสมอง28. ดนตรีดิสโก้ทำให้สมองเสื่อมองค์ประกอบสำคัญอย่างหนึ่งซึ่งจะช่วยให้หัวดี คือ ดนตรี ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 122 | เดือน/ปี: 06/2532
เด็กสี่ขวบถึงห้าขวบ361. ไม่มีเพื่อนที่โรงเรียนอนุบาลเด็กบางคนไปโรงเรียนอนุบาลได้ 2-3 เดือนแล้วแต่ยังไม่มีเพื่อน เด็กพวกนี้ส่วนใหญ่จะเป็นเด็กเรียบร้อย ขี้อาย ไม่กล้าแสดงออก ชอบหมกตัวอยู่คนเดียวเงียบๆ บางคนไม่อยากไปโรงเรียน แต่บางคนก็ชอบไปโรงเรียนทั้งๆที่ไปอยู่คนเดียว ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 121 | เดือน/ปี: 05/2532
ของเล่นค้ากำไร จำกัดความคิดสร้างสรรค์หุ่นยนต์พลาสติก ตัวสัตว์ประหลาด และรูปปั้นตัวละครในหนังการ์ตูน หรือหนังนวนิยายในโทรทัศน์ ล้วนถูกผลิตขึ้นด้วยลักษณะที่ตายตัวเหมือนในบทโทรทัศน์เรียบร้อยแล้ว เด็กๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 121 | เดือน/ปี: 05/2532
ถ้าอยากมีลูกหัวดีจากหนังสือ KODOMO NO ATAMA O YOKUSURU SEIKATSU SHUKANเขียนโดย DR. YOSHIRO NAKAMATSUแปล/เรียบเรียง โดย พรอนงค์ นิยมค้าบทที่ 3 ชีวิตความเป็นอยู่ (สภาพแวดล้อม) ที่กระตุ้นพัฒนาการทางสมอง25. ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 121 | เดือน/ปี: 05/2532
เด็กสี่ขวบถึงห้าขวบสภาพแวดล้อม359. เล่นกับเพื่อนไม่ได้เด็กอายุ 4 ขวบ มิได้มีความสามารถเล่นกับเพื่อนได้ทุกคนไป การเล่นกับเพื่อนนั้นเด็กต้องรู้จักรอมชอมถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน เด็กวัยนี้มีน้อยที่ใจกว้างถึงขนาดยอมให้เพื่อนจนเล่นด้วยกันได้ ส่วนใหญ่มักทะเลาะกัน และร้องไห้กลับบ้านหลายหน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 120 | เดือน/ปี: 04/2532
เด็ก ๆ ที่มีพ่อแม่คอยชักชวนให้ลูกของตนเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับภาพต่าง ๆ ที่ปรากฏในหน้าหนังสือนิทานอยู่เสมอนั้น สามารถทำคะแนนได้สูงในการทดสอบด้านภาษาผลจากการทดสอบของศาสตราจารย์นายแพทย์โกรเวอร์ เจ ไวท์ เฮิรสต์ แห่งสาขาจิตวิทยาและกุมารเวชศาสตร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงเจเน็ท ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 120 | เดือน/ปี: 04/2532
ได้อ่านข่าวเมื่อเร็ว ๆ นี้ เรื่องอดีตนางงามจักรวาลของเราอยากจะมีลูกอีกสักคนแล้ว รู้สึกแปลกและกังวลใจแทนปัญหามีอยู่ว่า มีได้หรือคำตอบ มีน่ะมีได้แต่จะมีปัญหาตามมาหรือไม่ก็คงมีคำถามต่อไปว่า ปัญหาของใครคำตอบก็คงได้ว่า-ทั้งแม่และลูกตัวแม่เอง อาจจะลำบากสักเล็กน้อย เพราะอายุมากแล้ว ในที่นี้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 120 | เดือน/ปี: 04/2532
356. ควรสอน ก.ไก่หรือไม่เด็กสมัยนี้อ่าน ก.ไก่ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 120 | เดือน/ปี: 04/2532
⇒ เพศเป็นสิ่งธรรมชาติเพศหญิงและชาย มีการแบ่งแยกมาแล้วตั้งแต่แรกเกิด แม้บางราย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 120 | เดือน/ปี: 04/2532
23. ใช้สีห้องพัฒนาความเป็นตัวของตัวเองสำหรับบ้านที่มีลูกหลายคน บ่อยครั้งที่น้องตัวเล็ก ๆ ไปเล่นในห้องของพี่ชายหรือพี่สาวของแก แล้วไปนอนหลับอยู่ที่นั่น ทั้งนี้เพราะเด็ก ยังไม่รู้จักแยกแยะว่าห้องไหนเป็นห้องของเขา ห้องไหนเป็นห้องของพี่ชายหรือพี่สาว เด็กเล็ก ๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 119 | เดือน/ปี: 03/2532
สูติแพทย์ทราบว่าควรสนับสนุนให้ผู้ที่เคยซีเซ็กชั่นแล้วคลอดทางปกติ นอกเสียจากว่ามีความจำเป็นทางการ แพทย์จริง ๆ จึงจะต้องผ่าเอาเด็กออกทางหน้าท้องแต่เดิมมานั้นเรามีความเชื่ออยู่ว่า “เมื่อใดที่เริ่มผ่าเอาลูกออกทางหน้าท้องแล้ว ท้องต่อมาก็ต้องผ่าอีก” ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 119 | เดือน/ปี: 03/2532
353. ฝึกร่างกายให้แข็งแรงการฝึกร่ายกายของเด็กให้แข็งแรงจะต้องมีทั้งเวลาและสถานที่ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 119 | เดือน/ปี: 03/2532
22. ให้เด็กรับผิดชอบห้องของตนเองการสร้าง “ห้องเล่น” ให้ลูกทำเลอะเทอะได้ตามใจชอบนั้นเป็นการส่งเสริมพัฒนาการทางสมองของเด็กอย่างยิ่ง ยิ่งกว่านั้นการสร้าง “ห้องเล่น” ในห้องส่วนตัวให้ลูก ๆ ยังส่งผลอย่างอื่นโดยที่มิได้คาดหมายมาก่อนคือ เด็กเริ่มรู้จักเก็บกวาด ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 118 | เดือน/ปี: 02/2532
การวิ่งเหยาะหรือวิ่งจ๊อกกิ้ง เป็นการวิ่งเพื่อสุขภาพที่ดีมากและกำลังเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง เพราะเป็นวิธีออกกำลังกายที่ง่าย ทำได้สะดวก และเหมาะกับคนทุกเพศทุกวัย แต่สำหรับคนท้อง ยังเป็นปัญหาที่คลางแคลงใจกันอยู่ ว่าการวิ่งจะเกิดโทษหรือไม่ สำหรับผู้ที่วิ่งเหยาะเป็นประจำอยู่แล้ว ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 118 | เดือน/ปี: 02/2532
21. สร้าง “ห้องเล่น” ให้ลูกเป็นไปไม่ได้ที่เด็กจะสะอาดเรียบร้อยอยู่ทั้งวัน เวลาเด็กเล่นดิน เล่นทราย แกก็เล่นสนุกจนเลอะเทอะไปทั้งตัว เวลาเล่นดินน้ำมัน พื้นห้อง หรือฝาผนังจะเปรอะเปื้อนสักแค่ไหน เด็กก็ไม่สนใจแต่ผู้ใหญ่ โดยเฉพาะพี่เลี้ยง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 118 | เดือน/ปี: 02/2532
350. นิสัยในการขับถ่ายเด็กวัย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 117 | เดือน/ปี: 01/2532
ปัญหาของพ่อแม่ในปัจจุบันที่เกี่ยวกับการเลี้ยงดูลูกปัญหาหนึ่ง คือนิสัยการดูโทรทัศน์ของลูก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 117 | เดือน/ปี: 01/2532
การเลี้ยงดู 347. อาหารสำหรับเด็กวัยนี้น้ำหนักของเด็กวัย 4-5 ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 117 | เดือน/ปี: 01/2532
20. อย่าดุเมื่อลูกขีดเขียนรูปตามผนังห้องเมื่อเด็กเริ่มเดินได้ แกจะเป็นตัวของตัวเองมากขึ้น ซุกซนยิ่งขึ้น และทำอะไรต่อมิอะไรให้พ่อแม่อกสั่นขวัญหายอยู่บ่อย ๆ ช่วงวัยนี้ จะเป็นวัยเด็กเริ่มวาดรูป แกหัดขีดเขียนบนกระดาษโดยไม่ต้องมีใครสอน ภาพที่เด็กวาด ผู้ใหญ่อาจดูไม่ออก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 116 | เดือน/ปี: 12/2531
ลักษณะของเด็ก 346. ลักษณะของเด็กอายุ 4-5 ขวบเด็กอายุ 4-5 ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 116 | เดือน/ปี: 12/2531
การศึกษาพ่อแม่ 99 คู่ โดยให้สังเกตพฤติกรรมการร้องงอแงของเด็ก ตั้งแต่อายุ 3 สัปดาห์ถึง 12 สัปดาห์ ระยะเวลานาน 6 สัปดาห์ ปรากฏว่ากลุ่มที่อุ้มชูเป็นพิเศษร้องกวนน้อยกว่าถึงร้อยละ 51ลูกร้องก็อุ้มเสียซิ...ลูกจะได้หยุดร้องแปลกแต่จริง เด็กบางคนหาได้หุบปากไม่ ถึงเวลาก็ร้องเอา ๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 116 | เดือน/ปี: 12/2531
19. เมื่อเด็กอายุ 5 ขวบ ควรเสริมสร้างพลังสมาธิท่านผู้อ่านคงเข้าใจแล้วว่า พลังสมาธิเป็นเงื่อนไขสำคัญเพียงไรในการช่วยให้เด็กหัวดีทีนี้มาถึงปัญหาที่ว่า ทำอย่างไร เด็กจึงมีพลังสมาธิดี? คำตอบง่าย ๆ ก็คือ หัดให้เด็กมีสมาธิเป็นนิสัยตั้งแต่เล็ก เรื่องนี้พูดง่ายแต่ทำได้ยากมาก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 116 | เดือน/ปี: 12/2531
“เด็กไทย คือ หัวใจของชาติ” “ลูก คือ หัวใจของพ่อแม่”คำพูดเหล่านี้คงจะเป็นที่คุ้นหู และซาบซึ้งอยู่ในใจแต่ละคนเป็นอย่างดี ทุกคนจึงอยากจะมอบสิ่งดี ๆ ให้กับเด็ก ไม่ว่าผู้ที่เป็นพ่อแม่ ปู่ย่า ตายายหรือสังคมโดยรวม เด็กไทยนั้นมีอยู่ถึง 18 ล้านคน หรือ คิดเป็นร้อยละ 38 ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 115 | เดือน/ปี: 11/2531
คุณหมอขา ช่วยดูนิ้วมือลูกอ้อมให้หน่อยซิค่ะ ไม่ทราบว่าเป็นอะไร สงสัยด้ายที่ปักถุงมือรัดเอา แดงบวมไปทั้งนิ้วเลยค่ะไหนลองเล่าไปซิว่าเป็นยังไง มายังไงก็เมื่อคืนนี้เอง ก่อนนอนดิฉันก็แต่งตัวลูกอ้อมตามปกติ นุ่งผ้าอ้อม ใส่เสื้อแล้วกลัวว่าลูกจะหนาวมือ จะใช้เล็บข่วนหน้าก็เลยสวมถุงมือให้ค่ะ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 115 | เดือน/ปี: 11/2531
344. ของแปลกปลอมเข้าจมูกเด็กวัย 3-4 ขวบนี้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 115 | เดือน/ปี: 11/2531
18. อย่าสังกัดก๊ก “ไปพลาง” จงอยู่ก๊ก “ทีละอย่าง”การรวมศูนย์ความสนใจไปที่สิ่งหนึ่งสิ่งเดียว และมุมานะทำสิ่งนั้นจนสำเร็จ เป็นการพัฒนาพลังสมาธิของเด็กซึ่งเป็นสิ่งสำคัญมาก หากเด็กมีพลังสมาธิดี ผลการเรียนย่อมดีไปด้วย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 113 | เดือน/ปี: 10/2531
เอาปากประกบริมฝีปากเด็ก เป่าลมเข้าไป (เหมือนการช่วยหายใจเด็กเวลาเด็กหมดสติหรือไม่หายใจ) จนกระทั่งรู้สึกว่าตึงปาก ตึงคอ แล้วผู้ป่วยหายจอกแรง ๆ ทันที วัตถุแปลกปลอมก็จะหลุดออกมาทางจมูกได้มีจดหมายถึงบรรณาธิการ ในวารสารNew England Journal of Medicine เขียนว่า ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 114 | เดือน/ปี: 10/2531
คนโบราณมักพูดถึงคนที่เกิดมามีความพิการ ปากแหว่งหรือเพดานโหว่กันไปต่าง ๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 114 | เดือน/ปี: 10/2531
340. หูด (หูดข้าวสุก)ในบางกรณี ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 114 | เดือน/ปี: 10/2531
17. เด็กไม่ซน อนาคตอันตรายพลังความคิด พลังสมาธิ และจินตนาการสร้างสรรค์ของผมพัฒนาขึ้นมาได้ดี เพราะได้รับอิทธิพลจากคุณแม่และคุณตาเป็นส่วนใหญ่ คุณแม่ผมเป็นผู้นำการแต่งกายแบบฝรั่งมาเป็นเครื่องแบบนักเรียนสตรี ซึ่งสมัยนั้นยังสวมกิโมโนกันอยู่คุณแม่สั่งสกีมาจากเมืองนอก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 114 | เดือน/ปี: 10/2531
ไข้ในเด็ก เป็นเรื่องที่หลายต่อหลายครั้ง เป็นที่ร้อนอกร้อนใจของพ่อแม่หรือคนใกล้ชิดเสียยิ่งกว่าตัวหนูน้อยเองเสียอีก ยิ่งเด็กอายุน้อย พ่อแม่ยิ่งร้อนใจมาก เพราะเกรงจะเป็นโรคร้ายแรง เอาล่ะครับ ลองมาทำความเข้าใจกันอีกสักครั้งว่า ไข้นั้นเป็นอย่างไรเมื่อไร ที่นับว่าสำคัญ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 113 | เดือน/ปี: 09/2531
วารสารการแพทย์แลนเซ็ต เผยผลวิจัยของ 3 นักวิจัย มาร์กาเร็ต เค.เดวิส, เดวิด เอ.ซาวิตซ์ และแบร์รี่ไอ. กรอบาร์ด ที่ศึกษาเด็กอเมริกัน 201 คน ซึ่งป่วยด้วยโรคมะเร็งระหว่างอายุ 18 เดือนถึง 15 ปี เปรียบเทียบกับเด็กวัยเดียวกันที่เลี้ยงด้วยนมมารดาเกิน 6 เดือน 181 คนผลการวิจัยพบว่า ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 113 | เดือน/ปี: 09/2531
อันตรายที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่เป็นบาดเจ็บที่ศีรษะ ถึงหัวกะโหลกร้าวหรือแตกก็มีมาก กระดูกหักก็เยอะ ดั้งจมูกหัก บาดแผล ฟันหักก็มีมีพ่อแม่หลายคนมาปรึกษาว่าจะให้ลูกหัดเดินโดยใส่ลูกลงในเก้าอี้หัดเดินดีไหม?เคยตอบว่าได้ แต่คำนึงถึงถึงความปลอดภัยด้วย เพราะเคยเห็นเด็กหกคะเมน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 113 | เดือน/ปี: 09/2531
อันตรายมากที่จะปล่อยให้เด็กนั่งเบาะหน้า หรือนั่งซ้อนตักพ่อแม่ หลังพวงมาลัยขณะขับรถ ถ้าชนกันตรงหน้าแล้วละก็ ทั้งลูก ทั้งพ่อและแม่ จะแย่ตาม ๆ กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ลูก”ทางสถาบันกุมารเวชศาสตร์อเมริกา เสนอแนะเกี่ยวกับความปลอดภัย เมื่อเด็กเป็นผู้โดยสารในรถยนต์ ดังนี้1. ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 113 | เดือน/ปี: 09/2531
338. อาการอาเจียนเป็นระยะอาการอาเจียนเป็นระยะ หรืออาการเป็นพิษในตัวนี้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 113 | เดือน/ปี: 09/2531
16. สมองเด็กเหนือกว่าคอมพิวเตอร์วันก่อนผมให้ลูกชายคนเล็ก เขียนเรียงความในหัวข้อเกี่ยวกับอนาคตของคอมพิวเตอร์ เมื่ออ่านผลงานเรียงความของลูก ผมก็รู้สึกโล่งใจ ที่ผลการสอนของผมซึมเข้าไปอยู่ในความคิดของลูกจริง ๆหากเราตั้งคำถามว่า คอมพิวเตอร์แบบล้ำยุคที่สุดจะเป็นแบบไหน? ผู้ใหญ่ทั่วไปคงตอบว่า ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 112 | เดือน/ปี: 08/2531
“ฟัน” เป็นอวัยวะสำคัญของร่างกาย ที่ปัจจุบันมีปัญหามากในเรื่องของ “ฟันผุ” และยังมีผู้ปกครองอีกมากที่เข้าใจว่า เรื่องของฟันนั้น หมอฟันหรือทันตแพทย์ต้องเป็นผู้ให้การดูแล ซึ่งเป็นการเข้าใจที่ไม่ถูกต้องนัก เพราะการดูแลเบื้องต้นเพื่อ “ป้องกันฟันผุ” นั้น ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 112 | เดือน/ปี: 08/2531
336. เล่นอวัยวะเพศการเล่นอวัยวะเพศของเด็กวัย 3-4 ขวบนี้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 112 | เดือน/ปี: 08/2531
15. เสริมสร้างจินตนาการสร้างสรรค์ของเด็กผมมีลูก 3 คน คนโตเป็นผู้ชาย อายุ 16 ปี นับได้ว่าผมเองก็เป็นพ่อที่กำลังรับผิดชอบเลี้ยงดูลูกอยู่เช่นกัน ธุรกิจการงานของผมยุ่งมาก หาเวลาไม่ค่อยได้ดังใจ แต่ผมก็พยายามดูแลลูกตามที่ผมเห็นควรเวลาจะสั่งสอนลูก ผมมักหวนคิดถึงอดีตของตนเองอยู่เสมอ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 110 | เดือน/ปี: 07/2531
เพลง “บาปบริสุทธิ์” ของคาราบาว เป็นเพลงที่สอนพ่อแม่ที่ละทิ้งลูกได้กินใจมากที่สุด น่าจะพิจารณารางวัลแกรมมี่ หรือตุ๊กตาทองสำหรับเพลงนี้ เพราะว่าพ่อกับแม่ต่างก็มุ่งเข้าสู่อบายมุข ปล่อยให้คนที่รับกรรมคือลูกน้อย ขนาดดาราสาวสวยที่โด่งดังที่สุดของโลก คือ ดิออสมอนด์ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 111 | เดือน/ปี: 07/2531
น.พ. หทัย ชิตานนท์ รองอธิบดีกรมการแพทย์เผยว่า ปัจจุบันปัญหาสาธารณสุขที่เพิ่มความสำคัญคือ ผลจากการดื่มสุราที่เป็นปัจจัยเสี่ยงร้ายแรงไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการสูบบุหรี่คือ การดื่มสุรา พบว่าประชากรวัยทำงานอายุ 15 ปีขึ้นไป ดื่มสุรามากขึ้นเป็นลำดับ กล่าวคือวัยนี้จะดื่มถึงร้อยละ 26 ชายร้อยละ 40 ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 111 | เดือน/ปี: 07/2531
คอลัมน์นี้ได้รับความร่วมมือจากชมรมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย นับเป็นครั้งแรกที่เราจะนำความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ของโรคต่าง ๆ ในประเทศลงตีพิมพ์ติดต่อกัน โดยจะครอบคลุมไปถึงลักษณะของโรคที่ควรรู้ในฤดูกาลต่าง ๆ กัน ตลอดจนวิธีการป้องกันโรคนั้น ๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 111 | เดือน/ปี: 07/2531
334. มีอาการปวดเวลาขณะปัสสาวะเวลาเด็กผู้ชายร้องแสดงอาการเจ็บปวดขณะปัสสาวะ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 111 | เดือน/ปี: 07/2531
14. พ่อแม่มีหน้าที่ปลูกฝัง “วิญญาณแข่งขัน”ถ้าอยากมีลูกหัวดี มีสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งซึ่งเป็นหน้าที่ของพ่อแม่คือ การปลูกฝัง “วิญญาณแข่งขัน”ครอบครัวญี่ปุ่นสมัยนี้มีลูกเฉลี่ยครอบครัวละ 1.7 คน ส่วนใหญ่จะมีลูกเพียง 2 คนหรือมีลูกคนเดียวเท่านั้น สมัยก่อนเรามีพี่น้อง 5 ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 110 | เดือน/ปี: 06/2531
พ่อและแม่ส่วนใหญ่มักไม่รู้หรอกว่า การเขย่าตัวลูกเล็ก ๆ นั้นเป็นอันตรายได้ จากสถิติทารกที่ได้รับการรักษาจากกลุ่มที่ป่วยจากการถูกเขย่า ประมาณ 1 ใน 3 ต้องเสียชีวิตไป 1 ใน 3 สามารถรักษาให้หายเป็นปกติได้ และร้อยละ 30-40 ของที่เหลือรักษาให้หายเป็นปกติไม่ได้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 110 | เดือน/ปี: 06/2531
332 .เหงื่อออกมาก เวลานอนเด็กบางคนเวลานอนตอนกลางคืนไปได้สักพัก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 110 | เดือน/ปี: 06/2531
13. ความอยากรู้อยากเห็น คือขุมพลังกระตุ้นสมองภาพแม่จูงลูกเดินในขณะที่ลูกเล็ก ๆ เอียงคอถามแม่ด้วยเสียงจ๋อย ๆ ว่า “แม่ฮะไอ้นั่นอะไรฮะ?” “แล้วไอ้นี่ล่ะ อะไรฮะ?” เป็นภาพที่เราพบเห็นกันบ่อย เด็กในวัยเรียนรู้ภาษานั้นช่างซักช่างถาม แกจะถามว่า “อะไร” หรือ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 109 | เดือน/ปี: 05/2531
การที่แม่หรือพ่อหย่าร้าง หรือเจ็บป่วยต้องเข้าโรงพยาบาล หรือเสียชีวิตล้วนแต่เป็นสาเหตุที่อาจจะบั่นทอนระบบภูมิคุ้มกันในลูกได้ทั้งนั้น แม้แต่การนำลูกวัยต่ำกว่า 6 เดือนไปให้คนอื่นเลี้ยงก็พึงระมัดระวังว่าอาจจะเกิดผลเสียแก่ระบบภูมิคุ้มกันของลูก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 109 | เดือน/ปี: 05/2531
จากการทดลองพบว่า เด็กจะออกแรงกระแทกเท้าในการวิ่งแต่ละก้าว มากกว่าผู้ใหญ่ คือโดยปกติแล้ว ผู้ใหญ่จะกระแทกเท้าด้วยแรงประมาณ 2 เท่าครึ่งของแรงจากน้ำหนักตัวในเวลาวิ่งเวลาคุณจะซื้อรองเท้าให้กับลูก ควรจะพิถีพิถันสักหน่อยในการเลือกซื้อของที่มีคุณภาพ อย่าคิดเพียงว่า แค่รองเท้าเด็ก ๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 109 | เดือน/ปี: 05/2531
แม่ที่ได้รับการเอกซเรย์ในขณะท้องอ่อน ๆ ช่วง 3 เดือนแรก ลูกมีโอกาสเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวได้ หากแม่ได้รับธาตุเหล็ก และเสริมด้วยกรดโฟลิก ระหว่างตั้งครรภ์แล้วโอกาสที่จะเป็นลูคีเมียน้อยลงเอกซเรย์ ใครคิดว่าไม่สำคัญ ถ้าใช้ไม่เป็นเรื่องเป็นราว อาจจะมีอันตรายได้ภายหลัง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 109 | เดือน/ปี: 05/2531
ปัญหาของเล่นสำหรับบ้านเรา เป็นเรื่องหนักใจสำหรับพ่อแม่บางคนมาก ไม่รู้จะซื้ออะไรให้ลูกดี เพราะไอ้โน่นก็มี ไอ้นี่ก็มี ปรากฏว่า เล่นครั้งเดียวแล้วก็เลิกเล่น กองพะเนินเทินทึกในห้องเล่นของลูก ๆบ้างก็บริจาค บ้างก็เก็บไว้ให้ลูกคนต่อไปเล่นปัญหาที่กล่าวข้างต้น ยังไม่เท่าไหร่ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 108 | เดือน/ปี: 04/2531
เด็กที่มีสุขภาพจิตดี หมายความว่า เป็นเด็กที่มีการพัฒนาการไปได้ตามปกติ เป็นไปตามวัย นอกจากนั้นก็จะมีอารมณ์รื่นเริง และมีสติปัญญาที่พัฒนาการให้ให้เหมาะสมไปตามวัย สามารถที่จะเข้ากลุ่มสังคมได้ เวลามีความเครียด หรือมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมเด็กสามารถปรับตัวได้เหมาะสมกับวัย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 108 | เดือน/ปี: 04/2531
ลูกเป็นสายใย เป็นแก้วตาดวงใจของพ่อแม่ พ่อแม่ทุกคนตั้งใจ ว่าลูกของตนจะต้องเป็นเด็กที่ฉลาด แข็งแรง และสมบูรณ์ ดังนั้นแม่จึงควรบำรุงร่างกายตั้งแต่เริ่มรู้สึกตัวว่าตั้งครรภ์เมื่อเริ่มตั้งครรภ์ร่างกายของแม่จะมีการเปลี่ยนแปลงต่างๆอย่างมากมาย ที่เห็นได้ชัดคือ อาการแพ้ท้อง อาเจียน อ่อนเพลีย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 108 | เดือน/ปี: 04/2531
บทที่ 2เคล็ดลับในการสร้างพลังสมาธิ พลังความคิด และจินตนาการสร้างสรรค์11. ฝึกให้มีสมาธิในสิ่งหนึ่งสิ่งเดียวแม่ผมไม่เคยสั่งให้ผมดูหนังสือเรียนสักครั้งเดียว แต่ท่านบอกผมตั้งแต่ผมยังเล็กอยู่ว่า “มุมานะทำอะไรก็ได้สักอย่างหนึ่งซิ”นี่แหละครับที่ส่งผลอย่างมหาศาลในภายหลัง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 108 | เดือน/ปี: 04/2531
330. การดูแลเด็กเป็นหวัดโรคหวัดเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสซึ่งไม่มียาฆ่าเชื้อ ต้องรักษาไปตามอาการ และในกรณีของเด็กขาดอาหาร (ขาดวิตามินเอ) เยื่อบุหลอดลมไม่แข็งแรง เมื่อมีเชื้อตัวอื่นเข้าผสมโรงด้วย อาการจะลุกลามจากหวัดกลายเป็นโรคปอดอักเสบ เชื้อไวรัสของโรคหวัดไม่ทำให้เด็กป่วยจนถึงแก่ชีวิต ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 108 | เดือน/ปี: 04/2531
เมื่อมีเตียงเด็กที่เลือกไว้ดีแล้วก็ต้องรู้จักวิธีใช้มันด้วยนั่นคือ...คนต้องทันของ มีของดี คนไม่รู้จักใช้ของ ประโยชน์ที่ได้ก็ไม่คุ้มค่า ตรงไปตรงมาเอาละ...อย่าหาว่าสอนเลย เรามาดูวิธีใช้เตียงเด็กบ้าง โดย1. เมื่อเด็กอยู่ในเตียงเด็กตามลำพัง อย่าปล่อยให้ด้านข้างเตียงเด็กต่ำลง เป็นอันขาด2. ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 106 | เดือน/ปี: 03/2531
สายสัมพันธ์แห่งความรักที่สัมผัสได้ระหว่างแม่กับลูกในการดูดนมแม่ เป็นความผูกพันที่อบอุ่นลึกซึ้ง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 107 | เดือน/ปี: 03/2531
ปัจจัยสี่ นับเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งแก่การดำรงชีวิตของมนุษย์ซึ่งได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค นอกจากสิ่งเหล่านี้แล้ว มนุษย์ยังต้องใช้หรืออาศัยเครื่องอุปโภคบริโภคชนิดอื่นๆอีกมากมายแป้งเด็กก็เป็นของใช้ในชีวิตประจำวันอย่างหนึ่ง ซึ่งผู้บริโภคนำมาใช้โรยตัว ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 107 | เดือน/ปี: 03/2531
เด็กไม่เจริญอาหาร เป็นปัญหาที่พบบ่อย อาจมีสาเหตุเนื่องจากมีโรคทางกาย เช่น โรคติดเชื้อ โรคของระบบประสาท เป็นต้นหรืออาจเนื่องจากความบกพร่องในการเลี้ยงดู เช่น เด็กถูกบังคับให้กินอาหาร เด็กขาดความอบอุ่นทางใจ เด็กกินของหวานมากเกินไป เป็นต้นการหาสาเหตุที่แท้จริงและแก้ไขไปตามเหตุนั้นๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 107 | เดือน/ปี: 03/2531
ถ้าคุณเป็นพ่อหรือแม่ที่กำลังกลุ้มใจ เกี่ยวกับการกินอาหารของลูกถ้าคุณมีลูกที่กินอาหารยาก เลือกกินมากเหลือเกินถ้าลูกของคุณเป็นเด็กที่ไม่ชอบกินเนื้อ ไม่ชอบกินผัก และคุณก็ไม่รู้จะทำอย่างไรกับแกดี!ลองฟังทางนี้ดูบ้างซิครับ!ผมกำลังจะบอกเคล็ด ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 107 | เดือน/ปี: 03/2531
ถ้าท่านผู้อ่านจำได้ ในตอนต้นปี พ.ศ.2527 มีข่าวใหญ่ครึกโครมในหน้าหนังสือพิมพ์และวิทยุกระจายเสียง คือการระบาดใหญ่ของโรคหัดเยอรมันในประเทศไทย ทำให้เกิดความตื่นตระหนกตกใจแก่ประชาชนเป็นอันมาก ซึ่งในทางการแพทย์ไม่ถือว่าเป็นการแสดงออกที่เกินกว่าเหตุแต่อย่างใด ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 107 | เดือน/ปี: 03/2531
บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้10. ยิ่งฝึกสมองเร็วยิ่งดีผมได้กล่าวไว้ในบทก่อนแล้วว่า น้ำหนักสมองของเด็กมีประมาณ 400 กรัม และของผู้ใหญ่ประมาณ 1,400 กรัม ท่านทราบไหมว่าอะไรคือความแตกต่างอันนี้?ความแตกต่างของน้ำหนักอยู่ที่ขนาดของเซลล์สมอง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 107 | เดือน/ปี: 03/2531
328. พี่น้องกุมารแพทย์มักแนะนำว่า อย่างน้อยควรจะมีลูกสักสองคน ที่หมอคิดเช่นนี้เพราะเห็นความแตกต่างระหว่างแม่ที่มีลูกคนเดียว กับแม่ที่มีลูกตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตอนมีลูกคนเดียว แม่จะไม่มั่นใจอยู่เรื่อยไปว่าเลี้ยงลูกแบบนี้ถูกหรือเปล่า เวลาจะหย่านมก็ไม่ค่อยกล้า ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 107 | เดือน/ปี: 03/2531
เด็กกับจักรยานเป็นของคู่กันเด็กคนไหนที่ไม่ชอบจักรยานก็ดูแปลก พอที่จะถีบได้ 3 ขวบ พ่อแม่ที่มีสตางค์ ก็จะไปจับจ่ายซื้อจักรยาน 4 ล้อ (ที่มีล้อเล็กอีก 2 ล้อ ข้างล้อหลัง) ให้ลูกเล่นเด็กก็ชอบและสนุกสนาน ยิ่งช่วงนี้เป็นหน้าร้อนปราศจากฝน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 106 | เดือน/ปี: 02/2531
หมอชาวบ้านฉบับนี้อาจารย์วีระพงษ์ ฉัตรานนท์ จากภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เขียนเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ คุณหมอวีระพงษ์เป็นผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเรื่องนี้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 106 | เดือน/ปี: 02/2531
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นวิธีที่ประเสริฐที่สุดในการเลี้ยงลูก เพราะนอกจากลูกจะได้สารอาหารครบถ้วนเพียงพอแล้ว ยังได้อาหารทางจิตใจคือความอบอุ่นจากแม่ ที่จะทำให้การเจริญเติบโตทางร่างกายของเด็กประสานประสมกลมกลืนไปกับการพัฒนาด้านจิตใจ เป็นรากฐานในการเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีร่างกายแข็งแรง สมองดี ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 106 | เดือน/ปี: 02/2531
เป็นที่ยอมรับกันนานแล้วทั้งในประเทศไทยและทั่วโลกว่า “นมแม่แน่ที่สุด” ฉะนั้นหลังคลอดในวงการแพทย์จึงพยายามที่จะให้ลูกได้มีโอกาสดูดนมแม่เร็วที่สุด เพื่อที่จะช่วยกระตุ้นให้ต่อน้ำนมทำงาน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 106 | เดือน/ปี: 02/2531
โรคหัดคืออะไรโรคหัดหรือภาษาชาวบ้านเรียก “ไข้ออกตุ่ม” (ถ้าเป็นชาวจีนก็เรียกว่า “ชุกม้วย”) เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดโรคหนึ่งในเมืองไทย ทั้งนี้ตั้งแต่โบราณมาแล้วที่เด็กทุกคนจะต้องเป็นโรคหัด จนเป็นความเชื่อไปเลยว่ายากดีมีจนไม่มียกเว้น ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 106 | เดือน/ปี: 02/2531
บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้9. เลี้ยงลูกให้เป็น “บุ๋นจิเนียร์”สมมติว่าลูกของคุณเก่งทางวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ คุณจะส่งเสริมความสามารถของลูกอย่างไร?ผมคาดว่าคงจะมีผู้ตอบว่า “ก็สนับสนุนให้เขาศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ที่เขาสนใจ พวกวิชาสังคม ภาษา ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 106 | เดือน/ปี: 02/2531
326. ลูกแฝด และโรงเรียนอนุบาลเด็กแฝดซึ่งเกิดจากไข่ใบเดียวกัน มักจะสนิทสนมกันดี เล่นสนุกอยู่ด้วยกันได้ทั้งวัน เด็กบ้านอื่นที่ไม่มีพี่น้องต้องเหงาอยู่คนเดียว เป็นภาระทำให้แม่ต้องคอยเล่นด้วย ส่วนแม่ของลูกแฝดพอลูกโตแม่ก็สบาย ไม่ต้องหาเพื่อนเล่นให้ลูก นับว่า ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 105 | เดือน/ปี: 01/2531
น.พ.ขจิต ชูปัญญา รองผู้อำนวยการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานครเผยว่า ปัจจุบันมีผู้ติดยาเสพติดในประเทศไทยประมาณ 4-6 แสนคน จำนวนดังกล่าว 80% เป็นผู้ที่อยู่ในกรุงเทพมหานครยาเสพติดที่เป็นปัญหาส่วนใหญ่คือ เฮโรอีนเบอร์ 4 หรือผงขาวนั่นเอง สำหรับตัวยาอื่นๆที่เป็นปัญหาได้แก่ ฝิ่น ยากล่อมประสาท ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 105 | เดือน/ปี: 01/2531
น.พ.วีระพงษ์ ฉัตรานนท์ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้แนะนำการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ไว้ในวารสาร “คลินิก” ว่า จากการศึกษาพบว่าทารกแรกคลอดมีความมหัศจรรย์มาก ทารกเหล่านี้สามารถมองเห็น ได้ยินเสียง รู้สึกสัมผัส และรู้รสตั้งแต่แรกคลอด ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 105 | เดือน/ปี: 01/2531
อาการปวดที่ว่านี้ เป็นๆ หายๆ ตามแขนหรือขาโดยไม่เกี่ยวข้องกับข้อ และปราศจากอาการของโรคทางกายอย่างอื่น เริ่มแรกอาจจะปวดหนักๆ ตื้อๆ เมื่อยๆ และมักจะหายไปโดยไม่ต้องทำอะไร ให้ความสนใจบ้างเล็กน้อยอาการก็จะหายไปเองเสียงแจ๋วๆออกมาจากห้องนอนยามหัวค่ำ ของเด็กหญิงตัวน้อยๆ อายุอานามราวๆ 4 ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 105 | เดือน/ปี: 01/2531
บทที่ 1เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้8. ดูโทรทัศน์แล้วสมองเสื่อมหรือ?“อย่าเอาแต่ดูทีวีซี่! ไปดูหนังสือไป๊!”คำพูดประโยคนี้ คนที่มีลูกคงจะเคยพูดอย่างน้อยก็หนหนึ่งละครับ พ่อแม่แทบทุกคนขุ่นเคืองโทรทัศน์เพราะทำให้ลูกติดหนับอยู่หน้าจอ มีเวลาดูหนังสือทำการบ้านน้อยลง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 105 | เดือน/ปี: 01/2531
324. ป้องกันอุบัติเหตุอุบัติเหตุซึ่งน่ากลัวที่สุดสำหรับเด็กวัยนี้ คืออุบัติเหตุถูกรถชน สำหรับคนที่มีบ้านอยู่ข้างถนน หรือซอย ซึ่งมีรถพลุกพล่าน บางครั้งเด็กจะวิ่งไล่ตามลูกบอลออกมาบนถนนและถูกรถชน เราต้องห้ามไม่ให้เด็กเล่นบอลข้างถนนเด็กบางคนเบื่อรถสามล้อ และต้องการขี่จักรยานสองล้อ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 105 | เดือน/ปี: 01/2531
คนละเรื่องกับลูกไก่จิกแม่ไก่ หรือแม่ไก่ไม่จิกลูกไก่ เรื่องปล่อยไก่อะไรทำนองนี้เรื่องราวต่อไปนี้พูดเรื่องไก่ ไก่โต้ง หรือไม่โต้งก็ตามที อาจจะเป็นอันตรายต่อเด็กได้โดยเฉพาะแม่ไก่บางตัวที่มันห่วงลูกอ่อนของมัน หากเด็กไม่ทราบหรือผู้ใหญ่เผลอ ปล่อยให้เด็กไปเล่นใกล้มัน มันอาจจะจิกหรือตีเอาได้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 104 | เดือน/ปี: 12/2530
เด็กที่รอดจากการชัก 131 ราย เกือบครึ่งหนึ่ง (47%) มีปัญหาทางระบบประสาทพิการขนาดปานกลางถึงรุนแรง พูดง่ายๆคือ พิการทางสมองเกือบครึ่งหนึ่ง มีทั้งแขนขาเป็นอัมพาต ลมชัก หูหนวก หรือตาบอดก็มีความกังวลใจของพ่อแม่ที่มีลูกเกิดใหม่ภายใน 1 เดือนแรกคือมีอาการชักตาค้างขึ้นมา ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 104 | เดือน/ปี: 12/2530
บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้7. อย่าดีแต่พูด จงปฏิบัติมารดาของผมจบการศึกษาจากโรงเรียนมัธยมสตรีหมายเลขหนึ่งของเมืองเกียวโต (DAIICHI JOGAKKO) และมาศึกษาต่อที่วิทยาลัยฝึกหัดครูสตรีโตเกียว ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของมหาวิทยาลัยโอซาโนมิศุ (OCHANOMIZU UNIVERSITY) ในปัจจุบัน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 104 | เดือน/ปี: 12/2530
สภาพแวดล้อม322. ของเล่นเด็กวัยนี้ถ้าพ่อแม่ไม่ตามใจจนเกินไป คงไม่มีของเล่นมากนัก เด็กผู้ชายอาจอะมีเพียงรถยนต์ หุ่นยนต์แท่งไม้ต่อรูป เด็กผู้หญิงก็มีตุ๊กตาและชุดบ้านตุ๊กตาเท่านั้น ทั้งนี้เพราะเด็กวัยนี้เบื่อของเล่นเร็ว และทำพังหมดการที่เด็กทำของเล่นพังเสียหายนั้น ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 103 | เดือน/ปี: 11/2530
รองศาสตราจารย์นายแพทย์อุดมศิลป์ ศรีแสงนามภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลคนที่มีบทบาททางเพศเบี่ยงเบนไปนั้นเป็นอะไรกันแน่เวลานี้สังคมเรามีความค่อนข้างจะกังวลและตระหนกตกใจกลัวเกี่ยวกับเรื่องที่ลูกหลานหรือคนในสังคมนี้เป็นเกย์ ตุ๊ด ทอม ดี้กันมาก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 103 | เดือน/ปี: 11/2530
บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้6. หัวดีหรือไม่ดีอยู่ที่กรรมพันธุ์หรือ?คนเราเกิดมามีเซลล์สมอง 14,000 ล้านเซลล์เท่าเทียมกัน สิ่งที่กำหนดว่าใครหัวดีหรือไม่ดีอยู่ที่ตัวเชื่อมระหว่างเซลล์สมอง ซึ่งเรียกว่า จุดประสานประสาท (Synapse) ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 103 | เดือน/ปี: 11/2530
การเลี้ยงดู320. หนังสือภาพแบบไหนดีเราไม่มีการสำรวจสถิติออกมาว่าหนังสือเล่มแรกที่เด็กได้ดูนั้นมีอิทธิพลอย่างไรต่อชีวิตของเด็กในภายหลัง ในความเป็นจริง เด็กบางคนซึ่งสมัยอายุ 3-4 ขวบเคยดูแต่หนังสือซึ่งอาจจะไม่ดีนัก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 102 | เดือน/ปี: 10/2530
บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้------------------------------------------------------------4. เรียนเท่าไรก็หัวไม่ดีถ้าอยากมีลูกหัวดีก็ทำให้สวิตช์สมองทำงานเร็ว และสื่อดี เด็กก็จะหัวดีก่อนอื่น สิ่งที่เราจะต้องทำคือการฝึกสมองของเด็กอย่างไรก็ตาม ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 102 | เดือน/ปี: 10/2530
ตอนที่ 4เรื่องเหลวไหลหรือเรื่องจริงกันแน่1. ที่พูดกันว่าเด็กที่เริ่มเรียนตั้งแต่อายุยังน้อยจะโง่ จะเบื่อการเรียน จะกลายเป็นคนขี้เกียจเรียนในระยะยาว และเมื่อเข้ามหาวิทยาลัยก็จะเรียนแบบขอไปที ทั้งซิดนีย์ เลดสัน และเกลน ดอนแมนยืนยันว่าไม่เป็นความจริงคนที่โง่ในระดับปัญญาอ่อน (Mental ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 102 | เดือน/ปี: 10/2530
การเลี้ยงดู318 เล่นกับเพื่อนไม่ได้เด็กที่ถูกเลี้ยงดูอยู่แต่ในบ้าน เมื่ออายุ 3 ขวบ ยังเล่นกับเพื่อนวัยเดียวกันไม่เป็น ถ้าปล่อยให้อยู่ด้วยกันเด็กจะแย่งของเล่นกันเอง ครั้งแรกที่มีเพื่อนมาเล่นที่บ้าน เด็กจะไม่ยอมให้เพื่อนยืมของเล่น ไม่ว่าเพื่อนยื่นมือหยิบอะไร แกจะเอาคืนทันที ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 102 | เดือน/ปี: 10/2530
เด็กน้อยคนนักที่ไม่ชอบสัตว์เลี้ยงจะเป็นสุนัข(หมา) แมว ที่สำคัญคือสัตว์เหล่านี้กัดคนทั้งนั้น จะด้วยความสนุก หรือด้วยสาเหตุอะไรก็ตามยิ่งสัตว์เหล่านั้นถูกจับตัวไว้หรือบาดเจ็บพร้อมที่จะกัดแม้แต่ว่าสัตว์ที่เชื่องที่สุด อาจจะกัดคน หรือเด็ก ถ้ามันถูกรบกวนเมื่อมันกำลังกินอาหาร ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 101 | เดือน/ปี: 09/2530
บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้2. ทำไมจึงกลายเป็นเด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีเซลล์สมองของมนุษย์ทุกคน มีจำนวนเท่ากันไม่เฉพาะแต่เด็กทารกแรกเกิดในวัยเดียวกันเท่านั้น แม้จะเปรียบเทียบระหว่างเด็กอ่อนกับผู้ใหญ่ จำนวนเซลล์สมองก็ไม่แตกต่างกันนัก คือมีประมาณ 14,000 ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 101 | เดือน/ปี: 09/2530
การเลี้ยงดู316 การลงโทษการลงโทษ คือการให้ผู้กระทำผิดรับผิดชอบในการกระทำของตน แต่เราจะให้เด็กอายุ 3 ขวบ รับผิดชอบเมื่อกระทำผิดนั้นย่อมเป็นไปไม่ได้เมื่อเด็กเล็กทำสิ่งที่อันตราย เช่น ปีนป่าย เล่นไฟ ฯลฯ เราตีเด็กเพื่อให้เด็กจดจำความเจ็บเอาไว้ จะได้ไม่ทำอีก นี่คือเหตุผลที่เราตีเด็ก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 101 | เดือน/ปี: 09/2530
ควรสอนภาษาอังกฤษเด็กเล็กๆไหมเรื่องนี้ก็คงเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันมาก ความคิดส่วนใหญ่ในวงการศึกษานั้นเน้นว่า เด็กเล็กๆนั้นไม่ควรจะสอนภาษาอังกฤษ เพราะจะเป็นการยัดเยียดความรู้แก่เด็ก ทำให้เด็กมีภาระในการเรียนมากเกินไป และเด็กก็เล็กเกินกว่าที่จะเรียนรู้ได้ ฯลฯ ซิดนีย์ เลดสัน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 100 | เดือน/ปี: 08/2530
บทที่ 1 เด็กหัวดี เด็กหัวไม่ดีต่างกันที่ตรงนี้------------------------------------------------------------1. มันสมองของมนุษย์ทุกคนเสมอภาค-ไม่ว่าใครก็หัวดี“ทำอย่างไรจึงหัวดี และมีมันสมองคงสภาพอยู่ในระดับเยี่ยม” ... ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 100 | เดือน/ปี: 08/2530
ควรสอนหนังสือเด็กด้วยวิธีใดดีการสอนหนังสือเด็กน่าจะแบ่งได้เป็น 2 วิธีใหญ่ๆ 1. แบบโฟนนิกส์ (Phonics) หรือแบบอักขระวิธีของไทยเรา วิธีนี้ใช้มาแต่สมัยโบราณดั้งเดิม คือให้เด็กเริ่มท่องตัวอักษร พยัญชนะ สระ และหนังสือไทยเราก็ท่องวรรณยุกต์ด้วย แล้วจึงสอนให้เด็กผสมพยัญชนะ สระ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 100 | เดือน/ปี: 08/2530
การเลี้ยงดู314 ฝึกลูกให้แข็งแรงเมื่อเด็กโตขึ้นอายุเกิน 3 ขวบ การฝึกร่างกายของเด็กย่อมยุ่งยากขึ้น เพียงฝึกกายบริหารและสูดลมหายใจลึกๆเท่านั้นไม่เพียงพอ เด็กควรได้ออกไปวิ่งเล่น กระโดดโลดเต้น และส่งเสียงดังอยู่กลางแจ้งซึ่งเป็นสถานที่ปลอดภัย ไม่มีรถยนต์แล่นไปมาน่าอันตราย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 99 | เดือน/ปี: 07/2530
สมัยนี้ ถ้าใครไม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ถือว่าล้าสมัยไปแล้ว แต่ก็มีคุณแม่หลายคนไม่สามารถมีนมให้ลูกตัวเองกิน...ถ้ามีความรู้ความเข้าใจเรื่องนี้ก็ไม่เป็นปัญหานมแม่ดีที่สุดนมอะไรที่ว่าแน่ นมแม่แน่กว่าใครในช่วง 15-20 ปีที่ผ่านมา ในต่างประเทศ ความตื่นตัวในการให้น้ำนมตนเองแก่ลูกมีมากขึ้นทุกที ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 99 | เดือน/ปี: 07/2530
พูดถึงโรคฟันผุ บางท่านอาจนึกถึงความเจ็บปวดที่รุนแรงมากที่ตัวเองมีประสบการณ์มาในอดีต บางท่านอาจเห็นภาพพจน์ของเด็กหรือลูกหลานที่แก้มบวมโย้ ร้องไห้งอแง หรือบางท่านอาจนึกถึงภาพฟันเป็นรูบิ่นแตก และมีสีดำสกปรก ไม่น่าดู และทำให้เสียบุคลิกภาพจากสถิติการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของคนไทย พบว่า ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 99 | เดือน/ปี: 07/2530
การเลี้ยงดู311 การนอนตอนกลางคืนมีเด็กเป็นจำนวนน้อยมากที่พอหัวถึงหมอนก็นอนหลับปุ๋ย เด็กส่วนใหญ่กว่าจะหลับได้ต้องใช้ทั้งเวลาและ “เครื่องกล่อม” บางคนอมนิ้ว บางคนดูดผ้าห่มผืนเก่าซึ่งเป็นของคู่กายมานานปีจนขนหลุด บางคนก็ดูดขวดนม บางคนยังต้องดูดนมแม่ก่อนนอน บรรดา ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 99 | เดือน/ปี: 07/2530
เริ่มสอนหนังสือเด็กเมื่ออายุเท่าใดดีการเรียนหนังสือของเด็กควรจะเริ่มต้นเมื่อไร กำลังเป็นปัญหาที่โต้เถียงกันทั่วโลก แต่ดั้งเดิมนั้นแทบทุกประเทศถือว่าเด็กควรจะเริ่มเรียนหนังสือเมื่ออายุ 6 ขวบ ฝ่ายอนุรักษ์นิยมที่ยึดถือเกณฑ์อายุ 6 ขวบนั้นย่อมมีเหตุผลที่ดีจึงได้ยึดถือปฏิบัติกันมานาน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 98 | เดือน/ปี: 06/2530
มิลิรูบิน...เป็นตัวการทำให้เด็กแรกเกิดมีอาการตัวเหลือง และจะเป็นอันตรายมากหากมีระดับสูงเกินไปในกระแสโลหิตของเด็กแรกเกิด...แต่สามารถรักษาด้วยการส่องไฟที่บ้านได้เด็กแรกเกิดที่ตัวเหลือง ตาเหลือง เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยทำให้หมอเด็กหรือกุมารแพทย์มีงานทำไม่ขาดมือ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 98 | เดือน/ปี: 06/2530
แป้งฝุ่นไม่มีความจำเป็นแต่อย่างใดสำหรับเด็ก ประโยชน์ที่จะดูดความชื้นมีเพียงน้อยนิด ลองคิดดู...ถ้าเอาแป้งเปียกน้ำชุ่มด้วยปัสสาวะห่ออยู่กับเด็กอะไรจะเกิดขึ้นคุณหมอ...เจ้าต้อมเป็นหวัดทั้งปี ไม่ยักหาย ทำอย่างไรดีละคะเป็นคำถามที่คุณแม่มักจะถามหมออยู่บ่อยๆเจ้าต้อมของคุณ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 98 | เดือน/ปี: 06/2530
ที่จำเป็นนั้นยังขาด ที่ผิดพลาดกลับมากมีเด็กน้อยร้อยหมื่นชีวีหวังสิ่งดีมาทดแทน--------------------------อนาคตคือผู้เยาว์สิทธิ์ของเขาต้องคุ้มครองข้อความข้างบนเป็นคำขวัญชูเด่นสะดุดตาสะดุดความคิดของผู้คนที่เข้ามาร่วมในการสัมมนา “การใช้ยาในเด็ก” : ปัญหาและทางออก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 98 | เดือน/ปี: 06/2530
การเลี้ยงดูเด็ก308 อาหารสำหรับเด็กวัยนี้เด็กวัยนี้น้ำหนักตัวจะเพิ่มประมาณหนึ่งกิโลครึ่ง ถึงสองกิโลกรัม ในช่วงระยะเวลา 1 ปี ในขณะที่ตัวสูงขึ้นถึง 6 เซนติเมตร พ่อแม่มองดูด้วยตามักนึกว่าลูกไม่อ้วนสักที เพราะเป็นช่วงที่เด็กตัวยืด ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 97 | เดือน/ปี: 05/2530
ในสหรัฐอเมริกา มีการผ่าตัดช่วยแก้โรคหัวโต เต็มไปด้วยน้ำในสมองของเด็กโดยการผ่าตัดตั้งแต่อยู่ในครรภ์วิทยาการทางการแพทย์ก้าวหน้าไปมาก ประเทศที่มีอันจะกิน คุณภาพชีวิตของประชาชาติเป็นเรื่องใหญ่ คนที่ต้องการมีลูกจริงๆก็มีไม่น้อย แต่จะเป็นผลกรรม หรือกรรมพันธุ์ก็สุดแต่จะเรียก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 97 | เดือน/ปี: 05/2530
การศึกษาของกลุ่มแพทย์ในสหรัฐอเมริกาและอิสราเอล พบว่า ระดับการศึกษาของผู้เป็นแม่จะมีส่วนทำให้เด็กกลุ่มอาการดาวน์ มีพัฒนาการทางสมองดีขึ้นดาวน์ซินโดรม หรือกลุ่มอาการดาวน์ เป็นโรคที่เกิดจาก โครโมโซม มากกว่าปกติไป 1 ตัว หรือมี 47 ตัว ในขณะที่คนธรรมดามีโครโมโซมอยู่ 46 ตัว ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 97 | เดือน/ปี: 05/2530
ภายในปีนี้สตรีอเมริกันประมาณ 1.5 ล้านคนจะเข้าสู่วัยหมดระดู และไม่ช้าก็เร็วผู้หญิงที่มีอายุเลยวัยกลางคนทุกคนจะต้องประสบกับเหตุการณ์นี้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แม้ว่าเรื่องนี้จะเป็นปกติ แต่การหมดระดูของผู้หญิงก็ได้กลายเป็นสิ่งที่ได้รับการเข้าใจผิด และถูกมองในทางไม่ดีมาโดยตลอด ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 96 | เดือน/ปี: 04/2530
หยุดคิดสักนิดก่อนให้ลูกคุณกินยาการมีสุขภาพกาย และใจที่ดี ย่อมเป็นที่ปรารถนาของมนุษย์ทุกคน ทุกเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีสุขภาพดีของบุคคลอันเป็นที่รักของตน ดังจะเห็นตัวอย่างได้บ่อยครั้งว่า บางครอบครัวจำเป็นต้องขายไร่ นา วัว ควาย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 96 | เดือน/ปี: 04/2530
เด็กสามขวบถึงสี่ขวบ ลักษณะของเด็ก 307 ลักษณะของเด็กอายุ 3-4 ขวบปัญหาของเด็กวัยนี้คือ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 95 | เดือน/ปี: 03/2530
การใช้เซลล์ตัวอ่อนในครรภ์รักษาโรค หลายประเทศหันมาใช้เทคนิคใหม่ในวงการแพทย์ โดยใช้เนื้อเยื่อหรือเซลล์ตัวอ่อนในครรภ์ซึ่งแท้งโดยธรรมชาติมารักษาโรค เช่น โรคเบาหวาน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 95 | เดือน/ปี: 03/2530
เด็กสองขวบถึงสามขวบ สภาพแวดล้อม305. กระดูกบริเวณข้อศอกเคลื่อนขณะที่กำลังจูงลูกเดินเล่น เกิดมีรถเลี้ยวกะทันหัน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 94 | เดือน/ปี: 02/2530
การใช้นมผงทดแทนนมแม่แม่ที่ทำงานบ้านหรือมีกิจการงานในบ้าน เช่น ค้าขาย ตัดเสื้อผ้า ดัดผม นับว่าโชคดีที่สามารถให้ “น้ำนมแม่” กับลูกได้ตลอดเวลา แต่แม่ที่ต้องไปทำงานไกลบ้าน การเดินทางไม่สะดวก จำเป็นต้องใช้ “นมผงเลี้ยงลูก” ทดแทนขณะไม่อยู่บ้าน มีคำแนะนำดังนี้1. ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 94 | เดือน/ปี: 02/2530
เด็กสองขวบถึงสามขวบ สภาพผิดปกติ 303. เข้ากับคนอื่นยากเด็กบางคนซึ่งเริ่มแปลกหน้าคนเมื่ออายุ 8-9 เดือน และคิดว่าโตขึ้นจะหาย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 93 | เดือน/ปี: 01/2530
การพัฒนาการของทารก
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 93 | เดือน/ปี: 01/2530
การใช้น้ำนมแม่เลี้ยงลูก(เมื่อแม่ต้องไปทำงาน)ปัจจุบันแม่ส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจดีว่า “น้ำนมแม่” เป็นอาหารวิเศษสุดสำหรับลูก เพราะ “น้ำนมแม่” มีสารอาหารครบถ้วนในปริมาณที่พอเหมาะกับความต้องการของร่างกายทารก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 93 | เดือน/ปี: 01/2530
เด็กสองขวบถึงสามขวบ สภาพผิดปกติ 301. ท้องเสียอาการท้องเสียของเด็กวัย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 93 | เดือน/ปี: 01/2530
ปัญหากัมมันตภาพรังสีในนมจากกรณีนมผงปนเปื้อนสารกัมมันตภาพรังสีนี้ “หมอชาวบ้าน” ได้เข้าพบเพื่อเรียนถามข้อเท็จจริงจากนายแพทย์ไพบูลย์ สงบวาจา อดีตผู้อำนวยการกองป้องกันอันตรายจากรังสี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการสถาบันวิจัยไวรัส ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 92 | เดือน/ปี: 12/2529
เด็กสองขวบถึงสามขวบ สภาพผิดปกติ298. ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 91 | เดือน/ปี: 11/2529
เด็กสองขวบถึงสามขวบ สภาพแวดล้อม296. ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 90 | เดือน/ปี: 10/2529
เด็กสองขวบถึงสามขวบ สภาพแวดล้อม293. ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 89 | เดือน/ปี: 09/2529
เด็กสองขวบถึงสามขวบ สภาพแวดล้อม 292. ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 88 | เดือน/ปี: 08/2529
เด็กสองขวบถึงสามขวบ การเลี้ยงดู 291. “วัยต่อต้าน” ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 87 | เดือน/ปี: 07/2529
กินให้ได้ประโยชน์การกินอาหารให้เป็นของคนทั่วๆไปนั้น ผู้เขียนได้กล่าวไว้ในฉบับที่แล้ว ฉบับนี้จะกล่าวถึงการกินให้เป็นสำหรับคนท้อง สำหรับแม่ลูกอ่อน สำหรับทารก สำหรับเด็ก⇒ การกินให้เป็นขณะตั้งครรภ์และให้นมลูก ในระยะที่ตั้งครรภ์ แม่ต้องกินอาหารสำหรับตนเองและสำหรับลูกในท้องด้วย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 87 | เดือน/ปี: 07/2529
เด็กสองขวบถึงสามขวบ การเลี้ยงดู288. ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 86 | เดือน/ปี: 06/2529
เด็กสองขวบถึงสามขวบ 285. อาหารสำหรับเด็กเด็กวัย 2-3 ขวบนี้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 86 | เดือน/ปี: 06/2529
เด็กเข้าโรงเรียนเร็วเกินไปไหม (ตอนที่ 4) จีเนียสมาจากไหน (เด็กอัจฉริยะ)จากงานค้นคว้าของ ฮาร์โรลด์ แมคเคอร์ดี้ (HAROLD MCCURDY) (สนับสนุนโดย SMITHSONIAN INSTITUTE) เด็ก “จีเนียส” (GENIUS) ส่วนใหญ่มาจากเด็กที่(1) ใช้เวลาส่วนใหญ่คลุกคลีใกล้ชิดกับพ่อแม่และผู้ใหญ่(2) ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 86 | เดือน/ปี: 06/2529
คุณแม่อายุน้อย – ผู้ชายท้องได้แล้วคอลัมน์เรียนรู้จากข่าว ได้หายหน้าหายตาไปนาน คราวนี้เราได้รับจดหมายจากผู้อ่านท่านหนึ่ง ตัดข่าวจากหนังสือพิมพ์ 2 ฉบับ ส่งมาให้ พร้อมกำชับให้ “หมอชาวบ้าน” ช่วยชี้แจงแถลงไขสักหน่อยก่อนที่จะว่าอะไรต่อ ก็ขอเชิญอ่านข่าวที่แนบมาทั้ง 2 ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 85 | เดือน/ปี: 05/2529
มารู้เรื่องยาคุม“ดิฉันเพิ่งจะแต่งงาน ยังไม่พร้อมจะมีลูก จะกินยาคุมอย่างไหนดีคะ”“อุ๊ยตายแล้ว...ลืมกินยาคุมไปวันหนึ่งจะทำอย่างไรดี”“ผลเสียจากการกินยาคุมกำเนิดมีหรือเปล่าคะหมอ”“ซื้อยาคุมกำเนิดมากินเองจะได้ไหมคะ” ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 85 | เดือน/ปี: 05/2529
ข้ออักเสบรูมาตอยด์ในเด็กโรคที่ทำให้พ่อแม่หัวใจสลาย ที่ตั้งชื่อหัวข้อเช่นนี้ไม่ได้เกินความจริงเลย เพราะท่านผู้ใดที่ได้พบเห็นหรือคุ้นเคยกับครอบครัวที่มีเด็กป่วยเป็นโรคนี้จะทราบดีว่า ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 85 | เดือน/ปี: 05/2529
ช่วยที...ของติดคอเด็ก ในโรงเรียนแห่งหนึ่งเกิดความโกลาหลกันใหญ่ เพราะเด็กชายน้อย (นามสมมติ) วัย 4 ขวบ มีอาการหายใจไม่ออกขึ้นมาเฉยๆ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 85 | เดือน/ปี: 05/2529
เด็กสองขวบถึงสามขวบ ลักษณะของเด็ก 284. ลักษณะของเด็กอายุ 2-3 ขวบพัฒนาการทางร่างกายของเด็กวัยนี้ก้าวหน้าเร็วมาก วิ่งเร็วขึ้น และหกล้มน้อยลง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 85 | เดือน/ปี: 05/2529
เด็กเข้าโรงเรียนเร็วเกินไปไหม การสมาคมของเด็กส่วนมากพ่อแม่และครูคิดว่าเด็กควรจะไปคลุกคลีและคบหาสมาคมกับเด็กอื่นๆที่อายุไล่เลี่ยกัน เพื่อจะพัฒนาสังคมของเด็กซึ่งเป็นการเข้าใจผิดอย่างมากตามงานวิจัยของนักจิตวิทยาและผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเด็ก ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 84 | เดือน/ปี: 04/2529
เด็กสองขวบถึงสามขวบลักษณะของเด็ก284. ลักษณะของเด็กอายุ 2-3 ขวบเด็กอายุ 2-3 ขวบ สามารถทำอะไรด้วยตนเองได้หลายอย่างแล้ว เลิกใช้ผ้าอ้อม และกินข้าวได้เอง จดจำคำพูดได้มาก จนกระทั่งคุยกับผู้ใหญ่รู้เรื่อง และเป็นตัวของตัวเองเมื่อคนเราเริ่มเป็นตัวของตัวเอง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 83 | เดือน/ปี: 03/2529
เด็กวัยขวบครึ่งถึงสองขวบสภาพผิดปกติ283. เด็กแก่หมอเมื่อดูหน้าเด็กที่มาหาหมอ จะเห็นหน้าเด็กที่มาประจำทุกเดือน กับเด็กที่ 2-3 เดือนจึงจะมาสักครั้งหนึ่ง คุณแม่ของเด็กที่มาหาหมอบ่อยๆ คงบ่นว่าทำไมลูกเธอจึงขี้โรคนักนะ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 82 | เดือน/ปี: 02/2529
เด็กวัยขวบครึ่งถึงสองขวบสภาพปกติ281. อาเจียนเวลาเด็กในวัยนี้อาเจียน เราต้องสังเกตว่าเด็กอาเจียนในสภาพเช่นไรถ้าเด็กมีไข้สูงและอาเจียนออกมา สาเหตุมักเกิดจากโรคที่ทำให้เกิดอาการระคายเคืองในลำคอ อาจเป็นโรคปากอักเสบ (หรือโรคตุ่มเม็ดพองในปาก ดูหัวข้อ 185 มชบ.ฉบับที่ 47) ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 81 | เดือน/ปี: 01/2529
กระตุ้นหัวนมช่วยให้คลอดลูกตามกำหนดว่าที่คุณแม่ที่มีแนวโน้มจะคลอดช้ากว่ากำหนด เพียงการนวดหน้าอกตนเองทุกวันก็ช่วยให้คลอดได้ตามกำหนดโดยไม่ต้องหันไปพึ่งยาเพื่อแก้ปัญหา นี่เป็นข่าวที่พอล แมคคาธีรายงานไว้ในนิตยสาร American Health ฉบับตุลาคม ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 81 | เดือน/ปี: 01/2529
เด็กวัยขวบครึ่งถึงสองขวบ276. สภาพแวดล้อมสร้างสถานที่เล่นให้เด็กกันเถอะเมื่อเด็กอายุเกินขวบครึ่ง เด็กจะเดินได้เร็วขึ้นและใช้มือได้เก่งขึ้นมาก แต่คุณพ่อคุณแม่ไม่จำเป็นต้องซื้อของเล่นอะไรให้เพิ่มเติมเป็นพิเศษสำหรับวัยนี้ เด็กเล่นของเล่นที่มีอยู่แล้วได้ แต่จะเล่นโลดโผนรุนแรงขึ้น ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 80 | เดือน/ปี: 12/2528
เด็กวัยขวบครึ่งถึงสองขวบการเลี้ยงดู272. อาหารของเด็กวัยนี้เมื่อเด็กกินข้าวเป็นอาหารหลัก บางฤดูเด็กอาจจะกินข้าวมาก บางฤดูก็กินน้อย โดยทั่วไปเด็กจะกินข้าวได้มากในช่วงอากาศเย็น และกินน้อยในช่วงฤดูร้อนสำหรับเด็กที่กินเก่งทุกฤดูกาลและน้ำหนักมาก เกินกว่า 13 กิโลกรัม ในช่วงอายุเท่านี้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 79 | เดือน/ปี: 11/2528
อวัยวะแห่งความเป็นชาย มนุษย์เป็นสัตว์โลกที่มีสองเพศ ผิดจากสัตว์ชั้นต่ำบางชนิดที่มีเพียงเพศเดียว การผสมพันธุ์เพื่อการสืบทอดเผ่าพันธุ์ของมนุษย์จึงต้องอาศัยสองเพศ มนุษย์สองเพศมีอวัยวะที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงผู้ชายก็มีอวัยวะสืบพันธุ์แห่งเพศชาย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 79 | เดือน/ปี: 11/2528
เด็กวัยขวบครึ่งถึงสองขวบลักษณะของเด็ก271. ลักษณะของเด็กวัยขวบครึ่งถึงสองขวบนอกจากออกกำลังกายแล้ว กำลังสมองก็ต้องฝึกด้วย เด็กอายุขวบครึ่งขึ้นไปชอบถามซ้ำซากว่า “นี่อะไร ?” เด็กรู้ว่าเมื่อถามคำถามนี้แล้วคุณแม่จะหันมาพูดกับตน เด็กจึงถามบ่อยๆ และคุณแม่ควรตอบคำถามของแกเสมอ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 77 | เดือน/ปี: 09/2528
เด็กวัยหนึ่งขวบ ถึงขวบครึ่งสภาพผิดปกติ268. ไอเวลามีใครในบ้านเป็นหวัดและติดต่อไปยังเด็ก ทำให้มีอาการคัดจมูก หรือน้ำมูกไหล ไอจาม เราพอจะรู้ว่าเด็กไอเพราะหวัด จึงไม่ค่อยเป็นห่วงเรื่องไอนักอย่างไรก็ตาม ถ้าหากเด็กเลิกจามและไม่มีน้ำมูกแล้ว แต่ยังไออยู่นานถึงครึ่งเดือน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 76 | เดือน/ปี: 08/2528
การเลี้ยงทารกคลอดก่อนกำหนด ด้วยวิธีใหม่ตามธรรมชาติผมได้รับหนังสือซันเดย์ไทมส์ จากศาสตราจารย์ชาวอังกฤษท่านหนึ่ง ซึ่งเป็นอาจารย์ของผม เกี่ยวกับเรื่องเลี้ยงเด็กทารกคลอดก่อนกำหนดด้วยวิธีใหม่ วิธีนี้ได้เริ่มปฏิบัติกันเป็นครั้งแรกที่ประเทศโคลัมเบียในทวีปอเมริกาใต้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 76 | เดือน/ปี: 08/2528
เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่งสภาพผิดปกติ266. อาเจียนอาการอาเจียนของเด็กมิใช่เกิดจากโรคไปเสียทั้งหมด การอาเจียนเอาอาหารที่กินมากเกินไปออกมานั้น เรียกได้ว่าเป็นการป้องกันตัวอย่างหนึ่ง ผู้ที่ควรจะรู้ดีที่สุดว่าลูกอาเจียนเพราะกินมากเกินไปหรือเปล่า คือ คุณแม่ เวลาเด็กได้กินของโปรด ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 76 | เดือน/ปี: 08/2528
ลดความเจ็บปวดจากการคลอดบุตรผู้หญิงส่วนใหญ่เมื่อกำลังย่างเข้าสู่การเป็นแม่ มักจะรู้สึกภูมิใจ แต่อีกส่วนหนึ่งก็จะมีความวิตกกังวลอยู่ในใจเสมอ โดยเฉพาะตอนคลอดบุตร และมักจะได้ยินคำบอกเล่าต่อๆ กันมาว่ามันช่างแสนเจ็บปวดทรมานแทบจะขาดใจตอนที่ดิฉันเริ่มตั้งท้อง ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 75 | เดือน/ปี: 07/2528
การให้ยาเด็กความเจ็บป่วยกับเด็กเป็นของคู่กัน เด็กยิ่งเล็กมากยิ่งเจ็บป่วยได้ง่ายและบ่อย เพราะระบบการต้านทานโรคยังไม่สามารถทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ และภูมิคุ้มกันโรคที่เด็กเคยได้รับขณะอยู่ในครรภ์มารดาหมดไป ประกอบกับเด็กต้องอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 75 | เดือน/ปี: 07/2528
เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่งสภาพผิดปกติ263. เด็กนอนดึกความคิดที่ว่า เมื่อถึงสองทุ่มเด็กต้องนอนนั้น สมัยนี้เป็นไปได้ยาก ครอบครัวทั่วไปในปัจจุบันจะพักผ่อนสังสรรค์กันตอนกลางคืน เพราะฉะนั้นเด็กซึ่งเป็นสมาชิกคนหนึ่งของครอบครัวย่อมอยากร่วมวงด้วยเป็นธรรมดาถ้าเด็กไม่ได้นอนตอนบ่าย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 74 | เดือน/ปี: 06/2528
เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่งสภาพผิดปกติ259. ไม่ยอมกินข้าวมีคุณแม่จำนวนไม่น้อยที่ชอบบ่นว่า ลูกไม่ยอมกินข้าว เมื่อถามว่าอยากให้ลูกกินข้าวมากสักแค่ไหน คำตอบก็คือ ตามตำราบอกว่า เด็กวัยนี้ต้องกินข้าวถ้วยครึ่ง หรือว่าเด็กข้างบ้านเขากินตั้งสองชาม ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 73 | เดือน/ปี: 05/2528
การช่วยเหลือเด็กชักการชักในเด็ก โดยเฉพาะเด็กอายุตํ่ากว่า 3 ปี มักมีสาเหตุมาจาก “ไข้สูง” ดังนั้นการเช็คตัวเพื่อลดไข้ควรจะได้กระทำทุกครั้ง เพื่อป้องกัน “การชัก” ชั่วระยะเวลาที่เด็กมีอาการชัก สมองจะขาดออกซิเจน ดังนั้น เด็กที่มีอาการชักบ่อย ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 73 | เดือน/ปี: 05/2528
เด็กวัยหนึ่งขวบถึงขวบครึ่งสภาพแวดล้อม255. สร้างสถานที่ให้เด็กเล่นกันเถอะชีวิตประจำวันของเด็กในวัยนี้ ส่วนใหญ่ใช้เวลาไปในการเล่นมากที่สุด เด็กจะค้นพบความสามารถพิเศษของตนเองในระหว่างการเล่น พ่อแม่ต้องให้ความสำคัญกับการเล่นของเด็ก ตอนแรกคอยสังเกตดูว่าเด็กชอบของแบบไหน ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 72 | เดือน/ปี: 04/2528
253. ดุเด็กดีหรือไม่ก่อนอื่นเห็นจะต้องขยายความคำว่า ‘ดุ’ เสียก่อน ตามปกติ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 71 | เดือน/ปี: 03/2528
...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 71 | เดือน/ปี: 03/2528
ก่อนอื่นผมต้องขออภัยต่อท่านผู้อ่านเป็นอย่างยิ่ง ที่คอลัมน์ “พันธุ์ดี” หายหน้าหายตาไปเสียนาน เพราะภารกิจหน้าที่ประจำฉบับนี้ก็กลับมาทำหน้าที่อย่างเก่า ในสองตอนก่อน (ฉบับที่ 59, 60) ได้เล่าแล้วว่าหูตึงหูหนวกกรรมพันธุ์ในบางกรณีพบร่วมกับความผิดปกติอย่างอื่น เป็น ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 71 | เดือน/ปี: 03/2528
หากคุณเข็ดขยาดกับช่วงเวลาในรอบเดือน ซึ่งก่อความไม่สะดวกสบายให้คุณ ลองบริหาร ร่างกายในท่าง่าย ๆ ต่อไปนี้ เพื่อช่วยขจัดอาการปวดให้หมดไป“ดีสมีนอเรีย ” (Dysmenorrhea) คือชื่อทางการแพทย์ของอาการปวดในรอบเดือน แต่แพทย์ยังหาสาเหตุที่แท้จริงของอาการปวดนี้ไม่ได้ ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 70 | เดือน/ปี: 02/2528
การเลี้ยงดู248.อาหารของเด็กวัยนี้ระยะอายุ 1 ขวบถึง 2 ขวบ น้ำหนักของเด็กจะเพิ่มขึ้นประมาณ 2 ...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 69 | เดือน/ปี: 01/2528
...
นิตยสารหมอชาวบ้านเล่มที่: 68 | เดือน/ปี: 12/2527
นอกจากความไม่สมดุลระหว่าง จำนวนบุคลากรทางการแพทย์กับจำนวนประชาชนแล้ว ภาวะสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบันยังทำให้ประชาชนจำนวนมากไม่สามารถใช้บริการของสถานพยาบาลได้ทุกครั้ง การดูแลตนเอง หรือดูแลซึ่งกันและกันเมื่อมีความผิดปกติบางอย่าง ...

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น